ระบบควบคุมตู้อบแห้งด้วยเจลกักเก็บความร้อนแบบอัตโนมัติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ออกแบบ และสร้างระบบควบคุมการอบแห้งด้วยตู้อบแห้งด้วยเจลกักเก็บ ความร้อนแบบอัตโนมัติ และหาประสิทธิภาพของระบบ องค์ประกอบของระบบควบคุมประกอบด้วย ตู้อบแห้งแนวตั้ง ตัวตรวจวัดอุณหภูมิ เจลกักเก็บความร้อน และตู้ควบคุม ระบบสามารถทำการอบเก็บพลังงานความร้อนและควบคุม การทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ ผลการทดสอบประสิทธิภาพ พบว่า ระดับความร้อนภายในตู้อบ เมื่อเวลาแสงอาทิตย์ ระดับอุณหภูมิเฉลี่ย 38.38 องศาเซลเซียส และระยะเวลาอุณหภูมิของเจลใน 5 ชั่วโมง เมื่อไม่มีแสงอาทิตย์ ระดับอุณหภูมิ 34.40 - 37.40 องศาเซลเซียส การทดสอบคุณภาพทางกายภาพของพริกชี้ฟ้าที่อบแห้งด้วยตู้อบแห้งที่พัฒนาขึ้น พบว่า มีความชื้นมาตรฐานแห้งที่ร้อยละ 43.53 และพริกชี้ฟ้าที่อบแห้งด้วยอบแห้งแบบตากแดดธรรมดา มีความชื้นมาตรฐานแห้งที่ ร้อยละ 22.07 ซึ่งเห็นได้ว่าการอบแห้งของพริกชี้ฟ้าที่อบแห้งด้วยตู้อบแห้งที่พัฒนาขึ้นดีกว่าพริกชี้ฟ้าที่อบแห้งด้วยอบแห้งแบบตากแดดธรรมดา
Article Details
References
[2] Janjai, S., Chantaraksa, W., Hirunlabh, J., Esper, A. Lauer, M. & Muehlbauer, W. (2001). Performance of a solar dryer for lemongrass. In Proceeding of a Symposium on Food Security. (pp. 1-3).
Chaingmai. Thailand.
[3] วรนุช แจ้งสว่าง. (2554). การพัฒนาตู้อบแห้งแสงอาทิตย์เพื่อใช้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากเนื้อสัตว์ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.
[4] เสริม จันทร์ฉาย. (2560). เทคโนโลยีการอบแห้งด้วยพลังงานรังสีอาทิตย์ ตำราประกอบการสอนวิชา 514 524 เทคโนโลยีการอบแห้ง พลังงานรังสีอาทิตย์. กรุงเทพฯ: ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
[5] วรนุช แจ้งสว่าง. (2556). ตู้อบแห้งแสงอาทิตย์ชนิดอากาศร้อนไหลลงแบบกะทัดรัด. วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา, 24(1)., 37-41.
[6] ธานิล ม่วงพูล และอวยไชย อินทรสมบัติ. (2560). การพัฒนาระบบระบายความร้อนด้วยท่อทำความเย็นแบบท่อทองแดงร่วมกับ ไมโครคอนโทรลเลอร์. วารสารการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 4(2), 47-56.
[7] วิบูลย์ เทเพนทร์. (ม.ป.ป.). การวัดความชื้นเมล็ดพืช. สืบค้นจาก http://www.doa.go.th/aeri/files/KM/moisture%202.pdf
[8] อุทัย จันทะเวช. (2553). การออกแบบและสร้างตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบพาความร้อน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี.
[9] สุพล แนวตัน. (2555). การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้วัสดุเก็บสะสมความร้อนเพื่อใช้กับเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ.
[10] พิภพ แซ่ตั้ง. (2555). เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอุโมงค์ลมที่ใช้หินภูเขาไฟเป็นตัวสะสมความร้อนเพื่ออบพริก. ลำปาง: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
[11] สำรวย ภูบาล, และวลัยรัตน์ จันทรวงศ์. (2558). การอบแห้งปลาหมึกกะตอยโดยใช้แสงอาทิตย์เป็นพลังงานความร้อนร่วม
วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, 11(1), 78-87.
[12] Kant, Karunesh, Shukla, A, Shama, Atul, Kumar} Anil & Jain, An and. (2016). Thermal energy storage based solar drying
systems: A review. Innovative Food Science and Emerging Technologies. 34 (2016) 86–99.