การพัฒนาระบบสนทนาอัตโนมัติสำหรับให้บริการข้อมูล บริษัท สมาร์ทคลิก โซลูชั่น จำกัด
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบสนทนาอัตโนมัติสำหรับให้บริการข้อมูล บริษัท สมาร์ทคลิก โซลูชั่น จำกัด 2) ศึกษาผลการทดลองใช้ระบบสนทนาอัตโนมัติสำหรับให้บริการข้อมูล บริษัท สมาร์ทคลิก โซลูชั่น จำกัด และ 3) ศึกษาประสิทธิภาพของระบบสนทนาอัตโนมัติสำหรับให้บริการข้อมูล บริษัท สมาร์ทคลิก โซลูชั่น จำกัด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบสนทนาอัตโนมัติสำหรับให้บริการข้อมูล บริษัท สมาร์ทคลิก โซลูชั่น จำกัด ที่พัฒนาขึ้น พบว่า ใช้ประโยชน์ได้จริง 2) ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบมีผลประเมินโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง (x̅=3.35, S.D. = 1.76) และ 3) ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับดีมาก (x̅=3.95, S.D. = 0.73)
Article Details
How to Cite
Chansanam, W. (2020). การพัฒนาระบบสนทนาอัตโนมัติสำหรับให้บริการข้อมูล บริษัท สมาร์ทคลิก โซลูชั่น จำกัด . วารสารวิชาการ "การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ", 6(2), 20–30. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/240729
บท
บทความวิชาการ
References
[1] Mindshare, & Goldsmiths University. (2016). humanity in the machine report. Retrieved from http://www.mindshareworld.com/sites/default/files/MINDSHARE_HUDDLE_HU MANITY_MACHINE_2016_0.pdf
[2] Myclever agency. (2016). Chat bots a consumer research study. Retrieved from http://www.mycleveragency.com/media/download/0c44f0c083879818a0d2347ab948752b
[3] กาญจนาภรณ์ ไพศิลป์. (2556). ประสิทธิภาพการทำนายการสื่อสารการตลาดผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ของอุตสาหกรรมการบิน. วิทยานิพนธ์ ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[4] วิไล พวงนาค. (2561). ปัจจัยการตัดสินใจเลือกใช้บริการแอพพลิเคชั่นไลน์ คนวัยทำงานในอำเภอสวนหลวง กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
[5] กฤษณี เสือใหญ่. (2558). พฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ ความพึงพอใจและการนำไปใช้ประโยชน์ของคนในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์และนวัตกรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
[6] ฐิติรัชต์ รักบุณยเกียรติ์. (2559). การใช้ประโยชน์จากแอพพลิเคชั่นไลน์บนโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
[7] บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สุวีริยสาสน์
[2] Myclever agency. (2016). Chat bots a consumer research study. Retrieved from http://www.mycleveragency.com/media/download/0c44f0c083879818a0d2347ab948752b
[3] กาญจนาภรณ์ ไพศิลป์. (2556). ประสิทธิภาพการทำนายการสื่อสารการตลาดผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ของอุตสาหกรรมการบิน. วิทยานิพนธ์ ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[4] วิไล พวงนาค. (2561). ปัจจัยการตัดสินใจเลือกใช้บริการแอพพลิเคชั่นไลน์ คนวัยทำงานในอำเภอสวนหลวง กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
[5] กฤษณี เสือใหญ่. (2558). พฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ ความพึงพอใจและการนำไปใช้ประโยชน์ของคนในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์และนวัตกรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
[6] ฐิติรัชต์ รักบุณยเกียรติ์. (2559). การใช้ประโยชน์จากแอพพลิเคชั่นไลน์บนโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
[7] บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สุวีริยสาสน์