การพัฒนาสื่อโมชันกราฟิก แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ชุมชนขนมแปลกริมคลองหนองบัว จังหวัดจันทบุรี

Main Article Content

สุทธิพงษ์ คล่องดี
นลินี ชนะมูล

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสื่อโมชันกราฟิกแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ชุมชนขนมแปลกริมคลองหนองบัว จังหวัดจันทบุรี 2) สำรวจความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อสื่อโมชันกราฟิกฯ 3) ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อสื่อโมชันกราฟิกฯ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน กลุ่มที่ 2 นักท่องเที่ยวจำนวน 400 คน และกลุ่มที่ 3 ประชาชนในชุมชนหนองบัวจำนวน 343 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ โปรแกรม Adobe illustrator และโปรแกรม Adobe After Effect ในการสร้างสื่อโมชันกราฟิก แบบประเมินคุณภาพสื่อโมชันกราฟิกโดยผู้เชี่ยวชาญ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อสื่อโมชันกราฟิก และแบบสอบถามการยอมรับการใช้เทคโนโลยีที่มีต่อสื่อโมชันกราฟิก สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


            ผลการวิจัยพบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นต่อคุณภาพสื่อโมชันกราฟิกโดยรวมอยู่ในระดับมาก            (gif.latex?\bar{x} = 4.33, S.D. = 0.61) นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจต่อสื่อโมชันกราฟิกโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x} = 4.34, S.D. = 0.77) และประชาชนในชุมชนหนองบัวยอมรับเทคโนโลยีที่มีต่อสื่อโมชันกราฟิกโดยรวมอยู่ในระดับมาก    (gif.latex?\bar{x} = 4.42, S.D. = 0.67) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมคือ ควรมีภาพขนมจริง เรื่องราวหรือวิธีการทำขนม ประกอบกับภาพโมชันกราฟิก และควรมีเสียงบรรยายเพื่อเพิ่มความเข้าใจ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กาญจนา จินตกานนท์. (2560). ตลาดขนมแปลก ชุมชนบ้านหนองบัว มีขายเกือบ 100 ชนิด ที่เมืองจันท์. สืบค้นจาก: https://www.technologychaoban.com/marketing/article_30152

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2562). 10 เท่...น่าเที่ยว จ.จันทบุรี. สืบค้นจาก: https://thai.tourismthailand.org/Articles/10-เท่-น่าเที่ยว-จันทบุรี

สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดจันทบุรี. (2564). พาณิชย์ จ.จันทบุรี จัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย กระตุ้นเศรษฐกิจชุมชนขนมแปลก “Happy & Variety @ Songkran Festival 2021 By DIT ภายใต้มาตรการป้องกันโควิด-19. สืบค้นจาก: https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG210411145502894?fbclid=IwAR2IycH4Nkzo4V3lg2AYrosN0XzSQ7F5f2rHk8MbMNoxDimhHGc1WTKlZaA

พิชญา ดิลกพัฒนมงคล. (2557). บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน.สืบค้นจาก:http://www.pharmacy.mahidol.ac.th

Infographic Thailand. (2561). เบื้องหลังการทำ motion graphic 1 ชิ้น.สืบค้นจาก:https://infographicthailand.com/เบื้องหลังการทำ-motion-graphic-1-ชิ้น

ภัทราวดี วงศ์สุเมธ. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับและการใช้งานระบบการเรียนผ่านเว็บ. วารสารนักบริหาร.33(3), 3-10.

สุโรทัย แสนจันทรแดงและ ธวัชชัย สหพงษ์. (2559). การพัฒนาโมชันกราฟิก เรื่อง การเลิกทาสในสมัยรัชกาลที่ 5. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 2. (น. 175-182). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

เบญจวรรณ จุปะมะตังและ ธวัชชัย สหพงษ์. (2560). การพัฒนาโมชันกราฟิก เรื่อง ตำนานพระธาตุขามแก่น. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. 3(2), 1-6.

อภิดา รุณวาทย์. (2561). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อท้องถิ่นโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. 4(2), 7-16.

พัชราภรณ์ ชัยพัฒนเมธี และ พัชราภรณ์ บ่อน้อย. (2562). สื่อโมชันกราฟิกเพื่อการประชาสัมพันธ์ห้างสรรพสินค้าออนไลน์. ใน การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ครั้งที่ 4. (น.318-325). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rded. New York: Harper and Row Publications.

เทศบาลตำบลหนองบัว. (2558). ข้อมูลสภาพทั่วไป. สืบค้นจาก: http://www.nongbuachan.go.th/about.php?id=6.

ภัทรี ภัทรโสภสกุล. (2561). การเล่าเรื่องโดยใช้สื่อดิจิทัล (Digital Storytelling) ในการรายงานข่าวภัยพิบัติของสำนักข่าว CNN.(วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.กรุงเทพฯ

ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ชยานนท์ พิพัฒน์ไชยศิริ, พรรณเพ็ญ ฉายปรีชา และ ชัยพร พานิชรุทติวงศ์. (2559). โครางการออกแบบแอนิเมชัน 3 มิติ แนวโมชันกราฟิก เพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2559. (น.544-549). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.