การเคราะห์รูปแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับนักศึกษาบกพร่อง ทางการได้ยินเพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค SQ4R A Synthesis of Digital Technology Applications for Hearing Impaired Students to Prepare for Learning Using the SQ4R Technique

Main Article Content

สุธิรา จันทร์ปุ่ม
ธวัชชัย สหพงษ์
ธรัช อารีราษฎร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ สังเคราะห์และประเมินรูปแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับนักศึกษาบกพร่องทางการได้ยินเพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค SQ4R กลุ่มเป้าหมายในการสำรวจข้อมูล จำนวน 15 คน กลุ่มเป้าหมายในการสัมภาษณ์ 5 คน และผู้เชี่ยวชาญประเมินรูปแบบ จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามบริบท ปัญหา และความต้องการเตรียมความพร้อม โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สำหรับนักศึกษาบกพร่องทางการได้ยิน แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถามความเหมาะสมของรูปแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับ นักศึกษาบกพร่องทางการได้ยินเพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค SQ4R สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


            ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการสังเคราะห์รูปแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับนักศึกษาบกพร่อง ทางการได้ยินเพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค SQ4R ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ (1) นโยบายและหลักการ (2) การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค SQ4R และ (3) ตัวบ่งชี้กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ และ 2) ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อความเหมาะสมของรูปแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับนักศึกษาบกพร่องทางการได้ยินเพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค SQ4R โดยรวมอยู่ในระดับมาก


 


คำสำคัญ: รูปแบบ, การสังเคราะห์, นักศึกษาบกพร่องทางการได้ยิน, เทคนิค SQ4R

Article Details

How to Cite
จันทร์ปุ่ม ส., สหพงษ์ ธ., & อารีราษฎร์ ธ. . (2023). การเคราะห์รูปแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับนักศึกษาบกพร่อง ทางการได้ยินเพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค SQ4R: A Synthesis of Digital Technology Applications for Hearing Impaired Students to Prepare for Learning Using the SQ4R Technique. วารสารวิชาการ "การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ", 9(1), 76–86. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/249218
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2543). คู่มือการคัดแยกและส่งต่อคนพิการเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.

กิตติยาภรณ์ อินธิปีก,ชมพูนุช จิตติถาวร. (2557) ปัจจัยที่มีผลต่อการเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทสไทยเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด.

คณะอนุกรรมการคัดเลือกและจำแนกความพิการเพื่อการศึกษา. (2543). คูมือการคัดแยกและสงตอคนพิการเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

ฐิติวัจน์ ทองแก้ว และ ประสพชัย พสุนนท์. (2561). การวิจัยเชิงเอกสารเพื่อสังเคราะห์องค์ประกอบและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของแนวคิดการจัดการสมรรถนะการประกอบอาชีพของคนพิการ : บริบทของสถานการณ์ กระบวนทัศน์และแนวคิดที่ให้ความสำคัญกับสมรรถนะของมนุษย์ทุกคน. วารสาร Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(3), 2162-2192.

พนิตนาฏ ชูฤกษ์. (2551). อ่านเร็วให้เป็นจาประเด็นให้อยู่หมัด. กรุงเทพฯ : เฟิสท์ออฟเซท(1993).

มลิวัลย์ ธรรมแสง. (2561). คนหูหนวก : ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและระบบวิธีสอน. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก www.deafthai.org/wp-content/.../05/คนหูหนวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา.pdf

ศรียา นิยมธรรม. (2541). ความบกพร่องทางการได้ยิน ผลกระทบทางจิตวิทยา การศึกษาและสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พีเออาร์ตแอนพริตติ้ง.

ศูนย์บริการสนับสนุนนักศึกษาพิการระดับอุดมศึกษา. (2561). ระเบียบมหาวิทยาลับราชภัฏสกลนคร ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาสาหรับนักศึกษาพิการเรียนร่วม พ.ศ.2556. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://dss.snru.ac.th/topics/1861

ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียนสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2550)

สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2538). สภาพปัญหาของคนหูหนวก. กรุงเทพฯ:

สุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ. (2554). วิธีสอนตามแนวปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน. กรุงเทพฯ: 9199 เทคนิคพริ้นติ้งนิทาน.

สำนักคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.