การพัฒนาระบบการลาออนไลน์ด้วย Microsoft Power Platform

Main Article Content

กาญจนา คำสมบัติ
นิตยา นารีจันทร์
เอกรินทร์ ศรีลาพัฒน์
อนุวัต ขัยเกียรติธรรม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบการลาออนไลน์ด้วย Microsoft Power Platform และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบลาออนไลน์ด้วย Microsoft Power Platform กลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 คน โดยคัดเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ระบบการลาออนไลน์ด้วย Microsoft Power Platform และแบบสอบถามความพึงพอใจสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบการลาออนไลน์มีการทำงาน 2 ส่วน คือ ส่วนที่หนึ่ง คือ การใช้งานบุคลากร สามารถแสดงรายละเอียดการเขียนการลา หน้าอนุมัติการลา หน้าแสดงรายละเอียดจำนวนวันลาคงเหลือ ส่วนที่สองคือ การใช้งานระบบการลาออนไลน์ของผู้อนุมัติการลา แสดงรายงานสถิติการลาของบุคลากร  รายละเอียดหน้าอนุมัติ และสรุปรายงานการลาของรายบุคคลและ 2) ผลการศึกษาความพึงพอใจการใช้งานระบบ พบว่า ภาพรวมของระบบอยู่ในระดับมากทั้ง 4 ด้าน เรียงลำดับจากผลการประเมิน ดังนี้ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการใช้งานระบบ มีค่าเฉลี่ยระดับมาก  ( gif.latex?\overline{x}= 3.96, S.D.=0.77) ด้านคุณภาพของระบบ มีค่าเฉลี่ยระดับมาก ( gif.latex?\overline{x}= 3.71, S.D.=0.72) ด้านความสะดวก สวยงาม มีค่าเฉลี่ยระดับมาก ( gif.latex?\overline{x}= 3.70, S.D.=0.78) ด้านประสิทธิภาพของระบบ   มีค่าเฉลี่ยระดับปานกลาง ( gif.latex?\overline{x}= 3.45, S.D.=0.72) ตามลำดับ


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบการลาออนไลน์ด้วย Microsoft Power Platform และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบลาออนไลน์ด้วย Microsoft Power Platform กลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 คน โดยคัดเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ระบบการลาออนไลน์ด้วย Microsoft Power Platform และแบบสอบถามความพึงพอใจสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบการลาออนไลน์มีการทำงาน 2 ส่วน คือ ส่วนที่หนึ่ง คือ การใช้งานบุคลากร สามารถแสดงรายละเอียดการเขียนการลา หน้าอนุมัติการลา หน้าแสดงรายละเอียดจำนวนวันลาคงเหลือ ส่วนที่สองคือ การใช้งานระบบการลาออนไลน์ของผู้อนุมัติการลา แสดงรายงานสถิติการลาของบุคลากร  รายละเอียดหน้าอนุมัติ และสรุปรายงานการลาของรายบุคคลและ 2) ผลการศึกษาความพึงพอใจการใช้งานระบบ พบว่า ภาพรวมของระบบอยู่ในระดับมากทั้ง 4 ด้าน เรียงลำดับจากผลการประเมิน ดังนี้ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการใช้งานระบบ มีค่าเฉลี่ยระดับมาก  ( gif.latex?\overline{x} = 3.96, S.D.=0.77) ด้านคุณภาพของระบบ มีค่าเฉลี่ยระดับมาก ( gif.latex?\overline{x} = 3.71, S.D.=0.72) ด้านความสะดวก สวยงาม มีค่าเฉลี่ยระดับมาก (gif.latex?\overline{x}  = 3.70, S.D.=0.78) ด้านประสิทธิภาพของระบบ   มีค่าเฉลี่ยระดับปานกลาง ( gif.latex?\overline{x} = 3.45, S.D.=0.72) ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เทศบาลเมืองวารินชำราช. (ม.ป.ป.). การนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ในองค์กร. สืบค้น 20 มกราคม 2566, จาก https://shorturl.asia/a6Qhs

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2565). รายงานประจำปี 2565 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม.

ศุภชัย สมัปปิโต. (2555). หลักเกณฑ์และวิธีการลา และประเภทการลาของพนักงาน พ.ศ.2555 การปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการลา. มหาสารคาม:

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

9EXPERT COMPANY LIMITED. (ม.ป.ป.). Microsoft Power Platform. สืบค้น 16 กุมภาพันธ์ 2566, จาก

https://www.9experttraining.com/articles/microsoft-power-platform-คืออะไร

ปาริฉัตร พินิจโชติ. (2564). การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นสมุดแสดงผลการเรียนออนไลน์ กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคามโดยรีแอคท์.

(วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม

วิลาวรรณ หล่าบุญทัน. (ม.ป.ป.). การพัฒนาแอพลิเคชั่นระบบยื่นคำร้องขอออนไลน์. สืบค้น 16 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://citly.me/3zINt

ธนภัทร เจิมขวัญ. (2563). ระบบฐานข้อมูลการลา : กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. ใน การประชุม หาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 11

(1929-1937). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ปุญญาภัส ดุจศรีสกุล. (2562). ระบบลางานออนไลน์ (กรณีศึกษา บริษัท แอ็บสแตรค คอมพิวเตอร์ จำกัด). (ปริญญานิพนธ์บัณฑิต). มหาวิทยาลัยสยาม,

กรุงเทพฯ.

Rensis, Likert. (1967). "The Method of Constructing an Attitude Scale," Reading in Attitude Theory and Measurement. edited by

Martin Fishbein. New York: John Wiley & Sons.