การพัฒนาเรือพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อตรวจวัดคุณภาพน้ำ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอการพัฒนาระบบตรวจสอบคุณภาพน้ำโดยใช้เรือที่ใช้พลังงานทดแทน เรือต้นแบบพลังงานแสงอาทิตย์ได้รับการออกแบบและใช้งานสำหรับการตรวจสอบคุณภาพน้ำโดยการวัดค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ของตัวอย่างน้ำในแหล่งน้ำ ข้อมูลถูกเก็บรวบรวมโดยเซ็นเซอร์ชนิดต่างๆเช่น pH อุณหภูมิ ของแข็งที่ละลาย และปริมาณออกซิเจนในน้ำ ทั้งหมดถูกเก็บรวบรวมไว้ในระดับความลึกที่แตกต่างกันของน้ำ เรือพลังงานแสงอาทิตย์นี้มีน้ำหนักทั้งหมดประมาณ 8 กิโลกรัม ความเร็วสูงสุด 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แผงเซลล์แสงอาทิตย์บนเรือสามารถสร้างกระแสไฟฟ้าได้ประมาณ 54.24 วัตต์ หลักการทำงานสูงสุดที่ 10 ชม. ระบบดังกล่าวมีข้อดี เช่น การปล่อยคาร์บอนต่ำ การใช้พลังงานต่ำ มีความยืดหยุ่นในการปรับใช้งาน
Article Details
How to Cite
[1]
ทีปรักษพันธุ์ ส. และ ใจแก้ว ป., “การพัฒนาเรือพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อตรวจวัดคุณภาพน้ำ”, sej, ปี 14, ฉบับที่ 2, น. 91–97, ก.ย. 2019.
บท
บทความวิจัย
ลิขสิทธิ์เป็นของวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
References
[1] เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์, วิศวกรรมการกำจัดน้ำเสีย เล่ม 3, กรุงเทพฯ, มิตรนภาการพิมพ์, 2537.
[2] หน่วยงานวิจัยและพัฒนาบูรณาการเกษตรและสิ่งแวดล้อม. คณะเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. มหาวิทยาลัยนเรศวร, “รายงานผลการทดสอบ เครื่องเติมอากาศแบบ Self-Aspirating OXYMIX Model OM-200Z ขนาด 20 แรงม้า,” บริษัท อีนอคซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด, กรุงเทพ, 2546.
[3] ศรีสุวรรณ เกษมสวัสดิ์ และศิวพันธุ์ ชูอินทร์, “ คุณภาพน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างยั่งยืนในเขตพื้นที่ อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม,” กรุงเทพฯ, 2555.
[4] N. Usali and M.H. Ismail, “Use of remote sensing and GIS in monitoring water quality,” J. Sustain. Dev., vol. 3, pp. 228 - 238, 2010.
[5] Y. Chen and D. Han, “Water quality monitoring in smart city: A pilot project,” Automation in Construction, vol. 89, pp. 307-316, 2018.
[2] หน่วยงานวิจัยและพัฒนาบูรณาการเกษตรและสิ่งแวดล้อม. คณะเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. มหาวิทยาลัยนเรศวร, “รายงานผลการทดสอบ เครื่องเติมอากาศแบบ Self-Aspirating OXYMIX Model OM-200Z ขนาด 20 แรงม้า,” บริษัท อีนอคซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด, กรุงเทพ, 2546.
[3] ศรีสุวรรณ เกษมสวัสดิ์ และศิวพันธุ์ ชูอินทร์, “ คุณภาพน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างยั่งยืนในเขตพื้นที่ อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม,” กรุงเทพฯ, 2555.
[4] N. Usali and M.H. Ismail, “Use of remote sensing and GIS in monitoring water quality,” J. Sustain. Dev., vol. 3, pp. 228 - 238, 2010.
[5] Y. Chen and D. Han, “Water quality monitoring in smart city: A pilot project,” Automation in Construction, vol. 89, pp. 307-316, 2018.