การผสานรวมเทคนิค QFD และ FBS ในระเบียบวิธีการออกแบบสำหรับผลิตภัณฑ์เชิงวิศวกรรม กรณีศึกษา: อุปกรณ์จับยึดกระสอบพลาสติกสาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การแก้ไขปรับปรุงแบบเป็นกิจกรรมที่มีความจำเป็นในกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพื่อให้ได้แบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับ แต่อย่างไรก็ตาม กิจกรรมดังกล่าวก็ทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากร เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดข้อผิดพลาด งานวิจัยนี้จึงได้ประยุกต์เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ (Quality Function Deployment : QFD) และ การออกแบบชิ้นส่วนตามฟังก์ชัน (Function - Behaviour – Structure : FBS) เพื่อพัฒนาขั้นตอนการออกแบบที่สามารถนำไปสู่การกำหนดปัญหาและข้อจำกัดของการออกแบบได้อย่างชัดเจนตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นกระบวนการออกแบบ ผลจากการประยุกต์ใช้กับกรณีศึกษา การออกแบบอุปกรณ์จับยึดกระสอบพลาสติกสาน การแก้ไขปรับปรุงแบบผลิตภัณฑ์เกิดขึ้นเพียง 1 ครั้ง หลังจากการทดสอบการใช้งานผลิตภัณฑ์ต้นแบบ และผลจาการนำอุปกรณ์ไปใช้เคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์น้ำหนัก 50 กิโลกรัม ภายในคลังสินค้าพบว่าการปฎิบัติงานสามารถดำเนินการได้โดยใช้พนักงานเพียง 1 คน โดยไม่ต้องใช้แรงจากร่างกาย จากผลดังกล่าวทำให้สามารถลดได้ทั้งจำนวนแรงงานและอาการบาดเจ็บของพนักงาน
Article Details
ลิขสิทธิ์เป็นของวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
References
[2] G. Pahl and W. Beitz, “Engineering Design,” London, Springer, 1999.
[3] VDI, “VDI 2221-Systematic Approach to the Design of Technical Systems and Products”, VDI-Verlag, Düsseldorf, 1993.
[4] N. P. Suh, “The Principles of Design,” New York, Oxford University Press, 1990.
[5] A. Yoji, “Development History of Quality Function Deployment,” the Customer Driven Approach to Quality Planning and Deployment. Minato, Tokyo: Asian Productivity Organization, 1994.
[6] คึกฤทธิ์ พรมสุ้ย และ ณัฐวุฒิ จันทร์ทอง. “การประยุกต์ Axiomatic Design และเมทริกซ์ข้อจำกัดในกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม” วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ. ปีที่ 12 (ฉบับที่ 2) : 1-10, 2560.
[7] มณฑลี ศาสนนันทน์, “การออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อการสร้างสรรค์นวัตกรรมและวิศวกรรมย้อนรอย,”ปีที่ 10 (ฉบับที่2), 2550.
[8] พงศกร ดำเกาะ, “การพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้เทคนิคการแปลงหน้าที่ทางคุณภาพ (QFD),” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 2552.
[9] E. S. Jaiswal, “A Case Study on Quality Function Deployment (QFD),” Journal of Mechanical and Civil Engineering, vol. 3, no.6, pp. 27-35, 2012.
[10] ณัฐวุฒิ จันทร์ทอง. “การลดความซับซ้อนในการออกแบบเชิงวิศวกรรม” วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. ปีที่4 (ฉบับที่ 1) : 84-99, 2555.
[11] J. S. Gero, “Design Prototypes : A Knowledge Representation Schema for Design,” AI Magazine, vol. 11, no. 4, pp. 26-36, 1990.
[12] C. Comotti, D. Regazzoni, C. Rizzi and A. Vitali, “Additive Manufacturing to Advance Functional Design: An Application in the Medical Field,” Journal of Computing and Information Science in Engineering, vol. 17, no. 3, 2017.
[13] J. S. Gero and U. Kannengiesser, “The situated function - Behaviour - structure framework,” Design Studies, vol. 25, no. 4, pp. 373-391, 2004.