การประเมินอาการเสี่ยงเกิดโรคฮีทสโตรกของพนักงานก่อสร้างงานโยธา กรณีศึกษา: บริษัทรับเหมาก่อสร้างถนน จังหวัดพะเยา
คำสำคัญ:
การประเมินความเสี่ยง, โรคฮีทสโตรก, พนักงานบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยเพื่อประเมินอาการที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฮีทสโตรกและศึกษาพฤติกรรมการป้องกันของพนักงานก่อสร้างงานโยธา บริษัทรับเหมาก่อสร้างถนน ณ ถนนสาย จ1 และ จ2 จังหวัดพะเยา จำนวน 35 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และจำนวนความถี่ พบว่า อาการเสี่ยงในการเกิดโรคฮีทสโตรกมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับปกติ คือ 29 มีการทำงานท่ามกลางแดดร้อนเป็นเวลานานมีอาการเมื่อยล้า อ่อนเพลีย มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ 47 คะแนน และการป้องกันตนเองในขณะทำงานที่มีอุณหภูมิความร้อนสูงของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับดี คือ 3.58 มักสังเกตพฤติกรรมการปัสสาวะของตนเอง หากไม่ค่อยถ่ายหรือปัสสาวะมีสีเข้มร่างกายกำลังขาดน้ำ ควรดื่มน้ำให้มาก มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ 3.84
References
MGR ONLINE. คาดหมายฤดูร้อน ปี 2562. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
https://mgronline.com/onlinesection/detail/9620000018064 (12 มีนาคม 2562)
สุรชัย โชคครรชิตไชย. 2562. บรรณาธิการแถลงภาวะเรื่องโรคฮีทสโตรก. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศ
ไทย, 9(1): ฏ
กลุ่มภารกิจด้านข่าวและสื่อมวลชนสัมพันธ์ สำนักสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 2562. สธ. แนะ
ประชาชนป้องกันโรคลมร้อน ภัยใกล้ตัวช่วงฤดูร้อน. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/04/123814/ (12 มีนาคม 2562)
กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. รายงานสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปี 2561. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://203.157.41.175/contents/view/351 (12 มีนาคม 2562)
ศูนย์การเรียนรู้อาเซียน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2562). โรคลมแดดอาจคร่าชีวิตคนงานก่อสร้างโอลิมปิก
โตเกียว. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://asean.dla.go.th/public/news (12 มีนาคม 2564)
ชลทิตย์ จงบุญประเสริฐ. (2559). รู้ทัน ป้องกันโรคลมแดด. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/march-2016/heatstroke-symptoms-prevention (12 มีนาคม
สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) ในพระราชูปถัมภ์. (ม.ป.ป.). หน้าร้อนกับโรค
ฮีทสโตรก (Heat Stroke) หรือโรคลมแดด [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
https://www.shawpat.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=317:-heat-stroke-&catid=49:-
m---m-s&Itemid=203 (12 มีนาคม 2564)
กองส่งเสริมสุขภาพและเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารบก. การเฝ้าระวังป้องกันและการปฐมพยาบาลการเจ็บป่วย
เนื่องจากความร้อน. (ม.ป.ป.). (12 มีนาคม 2564)
กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. รายงานสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและ
สิ่งแวดล้อม ปี 2557. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://203.157.41.175/contents/view/351 (12 มีนาคม 2562)
(ไม่ปรากฏผู้แต่ง). (ม.ป.ป.). ประเภทและลักษณะของงานก่อสร้าง. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://1.179.128.11/Book/%AA%D1%E9%B9%B9%D2%C2%BE%D1%B9/3%A1%D2%C3%C7%D2%A7%E1%BC% B9%A1%D2%C3%A1%E8%CD%CA%C3%E9%D2%A7.pdf (12 มีนาคม 2564)
กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ระบบและกลไกการเตือนภัยสุขภาพจากความ
ร้อนในระดับชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี: โครงการผลิตสื่อและมัลติมิเดีย สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น); 2560.
(14 มีนาคม 2564)
กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ผลกระทบต่อสุขภาพจากความร้อน สำหรับ
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: โครงการผลิตสื่อและมัลติมิเดีย สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น); 2560.
(14 มีนาคม 2564)
ฝ่ายความปลอดภัยและสุขภาพในการทำงาน กรมแรงงาน. (ม.ป.ป.). การป้องกันอาการเป็นลมจากความร้อนขณะ
ปฏิบัติงานในสภาพอากาศร้อนอบอ้าว. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
https://www.labour.gov.hk/eng/public/oh/HeatStroke_Thai.pdf (12 มีนาคม 2564)
กองส่งเสริมสุขภาพและเวชกรรมป้องกัน กรมการแพทย์ทหารบก. คู่มือการเฝ้าระวังป้องกัน และการปฐมพยาบาลการ
เจ็บป่วยเนื่องจากความร้อน (สำหรับหน่วยสายแพทย์). (ม.ป.พ.); 2555. (14 มีนาคม 2564)
มฑิรุทธ มุ่งถิ่น, ราม รังสินธุ์, วรรัชนี อิ่มใจจิตต์, ปนัดดา หัตถโชติ และสุธี พานิชกุล. (2559). การศึกษาเชิงคุณภาพเพื่อหาแนวทางในการป้องกันโรคลมร้อนในทหารกองประจำการ (พิมพ์ครั้งที่ 1 ). กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาปาราสิตวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า ภาควิชาเวชศาสตร์ทหารและชุมชน วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า ภาควิชาสรีรวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า สํานักงานพัฒนางานวิจัย วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า/โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://hia.anamai.moph.go.th/download/hia/meeting/2562/2CC/002Heat%20stroke%202561%20RR_PCM_JUNE_2018_ANAMAI.pdf (12 มีนาคม 2562)
วาสนา นัยพัฒน, มัลลิกา ลิ้มจิตกร, พัฑฒิดา สุภีสุทธิ์ และศิริวรรณ เผาจินดา. (2560). การคัดกรองปัจจัยเสี่ยง การสำรวจความรู และความตระหนักในการป้องกันการเจ็บป่วย จากความร้อนจากการฝึกของทหารกองประจำการ (พิมพ์ครั้งที่ 2 ). กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตรกองการศึกษาวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก.
[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rtamedj.pmk.ac.th/Vol_67/67-2-5.pdf (12 มีนาคม 2562)
American Conference of Industrial Hygienists. Threshold Limit Values (TLVS) and Biological exposure
indices (BEIs) 2007. Ohio: 2007. Pp.206-215.
ถนอม สุภาพร, ชิตพงษ์ ขวัญประชา, สุรจิต สุนทรธรรม, สุทธิชาติ พืชผล, พรรณบุปผา ชูวิเชียร, อุษณา ลุวีระ และ
คณะ. การป้องกันการเจ็บป่วยจาก Heat Stroke โดยดัชนีความร้อนร่วมกับอุณหภูมิร่างกายในระหว่างการฝึกหนักเบื้องต้น
ของนักเรียนแพทย์ทหาร. เวชสารทหารบก 2541 มกราคม-มีนาคม; (1): 17-26.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์