การบำบัดน้ำเสียฟาร์มสุกรและคุณค่าทางโภชนะของจอก (Pistia stratiotes L.)
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของจอก (Pistia stratiotes L.) สำหรับการบำบัด น้ำเสียจากฟาร์มสุกรและคุณค่าทางโภชนะเพื่อพัฒนาเป็นอาหารสัตว์ โดยจอกถูกเลี้ยงจำนวนทั้งสิ้น 3 ซ้ำ ในน้ำเสียจากฟาร์มสุกรที่ระดับความเจือจางความเข้มข้นของน้ำเสียที่ 0 5 10 และ 15% จากการทดลองเป็นเวลา 14 วัน จอกมีประสิทธิภาพการบำบัดสูงที่สุดที่ระดับความเจือจางความเข้มข้นของน้ำเสียที่ 5% โดยบำบัด COD BOD และ SS ได้ 88.9, 94.70 และ 85.64% ตามลำดับ อย่างไรก็ตามที่ระดับความเจือจางความเข้มข้นของน้ำเสียที่ 10% มีประสิทธิภาพในการบำบัด TKN ได้ 77.70% เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่าจอกเจริญเติบโตได้ดีที่สุดที่ระดับความ เจือจางความเข้มข้นของน้ำเสียที่ 5% โดยมีน้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งเพิ่มขึ้น 261 g/m2 และ 11.46 g/m2 ตามลำดับ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเปอร์เซ็นต์โภชนะของจอกมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อมีการเติมน้ำเสียจากฟาร์มสุกร
Article Details
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
มหาวิทยาลัยฯ อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยต้องแสดงที่มาจากวารสารและไม่ใช้เพื่อการค้า
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ และบุคลากร คณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯแต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ
References
[2] กัญชลี นาวิกภูมิ, สมชาย ทรงประกอบ, เพ็ญพิชชา บุญรัตน์, โกมล เอื่ยมเสมอ, สุธิร์ สุนิตย์สกุล, วิชชุดา สีมาขจร, วิมลิน แกล้วทนง และอำนาจ นิสภวาณิชย์. (2546). คู่มือการเลือกใช้ การดูแล และบำรุงรักษาระบบบำบัดน้ำเสียฟาร์มสุกรตามแบบมาตรฐานกรมปศุสัตว์ส่วนน้ำเสียเกษตรกรรม สำนักจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม.
[3] Sudiarto, S. I. A., Renggaman, A., & Choi, H. L. (2019). Floating aquatic plants for total nitrogen and phosphorus removal from treated swine wastewater and their biomass characteristics. Journal of environmental management, 231, 763-769.
[4] Tel-Or, E., & Forni, C. (2011). Phytoremediation of hazardous toxic metals and organics by photosynthetic aquatic systems. Plant Biosystems, 145(1), 224-235.
[5] Muradov, N., Taha, M., Miranda, A. F., Kadali, K., Gujar, A., Rochfort, S., Stevenson, T., Ball Andrew, S and Mouradov, A. (2014). Dual application of duckweed and azolla plants for wastewater treatment.
[6]. ศิราภรณ์ ชื่นบาล และฐปน ชื่นบาล. (2562). การเจริญ การสะสมและการปลดปล่อยธาตุอาหารของแหนแดงที่เลี้ยงด้วยน้ำทิ้งจากฟาร์มเลี้ยงสุกร. วารสาร มทร. อีสาน, 10 (2). 86-96.
[7]. จูอะดี พงศ์มณีรัตน์ (2548). คู่มือชมพรรณไม้น้ำไทย กลุ่มงานวิจัยและพัฒนาสถานแสดงพันธุ์สัตว์ น้ำจืด สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรประมงน้ำจืด สำนัวิจัย และพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
[8] Keizer-Vlek, H. E., Verdonschot, P. F., Verdonschot, R. C., & Dekkers, D. (2014). The contribution of plant uptake to nutrient removal by floating treatment wetlands. Ecological Engineering, 73, 684-690.
[9] Weirich, C. E., Feiden, A., Souza, C. S., Marchetti, C. R., Aleixo, V., & Klosowski, É. S. (2020). Temperature influences swine wastewater treatment by aquatic plants. Scientia Agricola, 78.
[10]. ภณชัย สุขแก้ว ธนวรรณ พาณิชพิพัฒน์ และฐิติยาแซปง. (2554). การใช้พืชน้ำบางชนิดในการปรับปรุงคุณภาพน้ำทิ้งจากโรงไฟฟ้าราชบุรี. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม. 786-791.
[11] APHA, AWWA and WEF. (1998). Standard methods for the examination of water. Wastewater, 20th Edition, American Public Health Association.
[12] Taiz, L., & Zeiger, E. (2006). Secondary metabolites and plant defense. Plant physiology, 4, 315-344.
[13] Marty, F. (1999). Plant vacuoles. The Plant Cell, 11(4), 587-599.
[14] สำนักจัดการคุณภาพน้ำ. (2556). คู่มือวิธีการ หรือ เทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงสุกร ประเภท ค. กรมควบคุมมลพิษ (น. 1,3-5).
[15] Tylova-Munzarova, E., Lorenzen, B., Brix, H., & Votrubova, O. (2005). The effects of NH4+ and NO3− on growth, resource allocation and nitrogen uptake kinetics of Phragmites australis and Glyceria maxima. Aquatic Botany, 81(4), 326-342.
[16] พงษ์ชาญ ณ.ลำปาง. (2556). การหาแหล่งอาหารพื้นบ้านเพื่อทดแทนรำในอาหารสุกร พันธุ์ไทย (รายงานการวิจัย). สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (น. 10-12).
[17] กรมปศุสัตว์. (2546). คู่มือการเลี้ยงไก่พื้นเมือง. กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ (น. 8-19).