การจัดการฝูงบินด้วยกำหนดการเชิงจำนวนเต็ม (กรณีศึกษา : สายการบินนกแอร์)
คำสำคัญ:
การจัดการฝูงบิน กำหนดการเชิงจำนวนเต็ม, fleet assignment, integer linear programmingบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เราใช้แบบจำลองการจัดการฝูงบินด้วยกำหนดการเชิงจำนวนเต็ม เพื่อกำหนดประเภทของฝูงบินให้เหมาะสมกับเที่ยวบินในตารางบินจริงของสายการบินนกแอร์ เที่ยวบินในประเทศ และหาค่าใช้จ่ายที่ใช้ดำเนินการน้อยที่สุด นอกจากนี้เราได้กำหนดจำนวนเครื่องบินที่ลงจอดค้างคืนในแต่ละสนามบิน ผลที่ได้จากการหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุดโดยใช้ โปรแกรม LINGO พบว่าเราสามารถกำหนดจำนวนฝูงบินทั้งสองประเภทให้กับทุกเที่ยวบินโดยมีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด และระบุจำนวนเครื่องบินที่ลงจอดค้างคืนในแต่ละสนามบินภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด
References
[2] Subramanian, R., Scheff, R.P., Quillinan, J.D., Wiper, D.S., Marsten, R.E., Coldstart, “Fleet assignment at Delta Air Lines,” Interfaces, Vol. 24 (1), pp. 104–120, 1994.
[3] Ozdemir, Y., Basligil, H. and Sarsenov, B., “A large scale integer linear programming to the daily fleet assignment problem: a case study in Turkey,” Procedia-Social and Behavioral Sciences, Vol.62, pp. 849-853, 2012.
[4] Belanger, N., Desaulniers, G., Soumis, F., & Desrosiers J. “Periodic airline fleet assignment with time windows, spacing constraints, and time dependent revenues,” European Journal of Operational Research, Vol. 175, pp. 1754-1766, 2006b.
[5] Bazargan, M., “Airline Operations and Scheduling,” 2nd ed., USA: Ashgate, (Chapter 4), 2004.
[6] Hane, C.A., Barnhart, C., Johnson, E.L., Marsten, R.E., Nemhauser, G.L., and Sigismondi, G., “The fleet assignment problem : Solving a large-scale
integer program,” Mathematical Programming, Vol. 70, p. 211–32, 1995.