การศึกษาสมบัติทางมอดูลัสของพอลิออกซีเมทิลีนที่ผ่านการใช้งานแล้ว โดยการเติมสารควบคู่ปฏิกิริยา
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมบัติทางมอดูลัสของพอลิออกซีเมทิลีนที่ผ่านการใช้งานแล้วโดยการเติมสารควบคู่ปฏิกิริยา จากการผสมด้วยเครื่องอัดรีดแบบสกรูคู่ ทำการขึ้นรูปชิ้นทดสอบแรงดึงด้วยวิธีฉีดขึ้นรูป โดยนาพอลิออกซีเมทิลีนที่ผ่านการใช้งานแล้วเติมสารควบคู่ปฏิกิริยาไซเลน (VTMS) ที่ 0,1,3 และ 5 phr และนำไปอบไอน้า 0, 24, 72 และ 120 ชั่วโมง จากนั้นทำการศึกษาวิเคราะห์สมบัติทางมอดูลัส จากผลการทดลองพบว่า ปัจจัยดังกล่าวมีผลทำให้ค่ามอดูลัสความยืดหยุ่นมีแนวโน้มลดลง แต่ที่ปริมาณการเติมไซเลน 3 phr และระยะเวลาอบไอน้ำที่ 0 ชั่วโมง ทำให้ค่ามอดูลัสความยืดหยุ่นมีค่าสูงสุดที่ 1,089.40 MPa ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ แสดงอิทธิพลของการอบไอน้ำและสัดส่วนการผสม ส่งผลต่อมอดูลัสความยืดหยุ่นตัว ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะได้รับอนุญาต แต่ห้ามนำไปใช้เพื่่อประโยชน์ทางธุรกิจ และห้ามดัดแปลง
References
[2]Xiaodong Wang และ Xiuguo Cui, Effect of ionomers on mechanical properties, morphology, and rheology of polyoxymethylene and its blends with methylmethacrylate - styrene -butadiene copolymer,European Polymer Journal, No.41, pages 871-880, 2547
[3] กัลยาณี สิริสิงห, โครงการการเตรียมสมบัติและการใช้งานของพอลิเอทธิลีนชนิดความหนาแน่นสูงที่มีโครงสร้างร่างแหไซลอกเซน, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555
[4] เกศกนก แก้วกอ, การศึกษากราฟท์ของพอลิโพร-พิลีนและพอลิโพรพิลีนคอมโพสิทด้วยไซเลนและการเชื่อมโยงสายโซ่ด้วยน้า, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์และพอลิเมอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2547
[5] อนุชิต คงฤทธิ์ และคณะ, อิทธิพลของสารคู่ควบต่อสมบัติทางกลของพอลิโพรพิลีนรีไซเคิลและพอลิ-เอทิลีนความหนาแน่นสูงรีไซเคิล, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค. 2559.
[6] อนุชิต คงฤทธิ์ และจิตติวัฒน์ นิธิกาญจนธาร, การศึกษาสมบัติทางกลของพอลิเอทิลีนชนิดนากลับมาใช้ใหม่ที่มีโครงสร้างร่างแหโดยการวิเคราะห์ทางสถิติ, การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจาปี พ.ศ. 2558, 6-7 สิงหาคม 2558, กรุงเทพ: 667-672, 2558
[7] จิตติวัฒน์ นิธิกาญจนธาร และคณะ, การศึกษาสมบัติทางกลของพอลิเอไมด์ 6 ที่นากลับมาใช้ใหม่โดยการเติมสารควบคู่ 3-Aminopropyl triethoxy Silane, การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจาปี พ.ศ. 2559, 7-8 กรกฎาคม 2559, ขอนแก่น : 667-672
[8] จิตติวัฒน์ นิธิกาญจนธาร และอนุชิต คงฤทธิ์. (2558) “การปรับปรุงคุณสมบัติทางกลของพอลิโพรพิลีนและพอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูงที่ผ่านการใช้งานมาแล้วโดยใช้สารควบคู่” การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ. 6-7 สิงหาคม 2558, กรุงเทพมหานคร.
[9] จิตติวัฒน์ นิธิกาญจนธาร และโสฐิดา พูนโตนด.“การศึกษาสมบัติความต้านทานแรงกระแทก พอลิเอธิลีนเทเรฟทาเลตที่ผ่านการใช้งานมาแล้ว (r-PET)/พอลิเอธิลีนเทเรฟทาเลตเกรดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ (PET) โดยเติมสารควบคู่ Vinyl-Trimethoxy Silane”. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจาปี พ . ศ . 2560. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 12-15 กรกฎาคม 2560 เชียงใหม่.
[10] พิมผกา มีสัจ และสมประสงค์ สังข์ด่าน, อิทธิพลของการผสมพอลิเอไมด์ 6 และไซเลนกับการอบไอน้าที่ส่งผลต่อคุณสมบัติเชิงกล, ปริญญานิพนธ์ สาขา วิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน, 2558