Work improvement in an Automotive Parts Factory
Main Article Content
Abstract
The objective of this study is to improve the operations at the cylinder production line using work measurement, methods improvement, ECRS (eliminate, combine, rearrange, and simplify), and line balancing techniques to support increasing product demand. This improvement results in a change in cycle time for cylinder production from 23.5 seconds to 22.1 seconds (1.4 seconds or 5.96% reduction). This change leads to an increase in a monthly production output from 59,591 pieces to 63,366 pieces (or 3,775 pieces per production line or a 6.33% capacity improvement). In addition, the manpower requirement for the cylinder production line is decreased from 3.5 persons to 3 persons (0.5 persons or 14.29% decrease). Findings also
indicate that a total cost saving of 12,869.4 THB per day is found after the work improvement
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะได้รับอนุญาต แต่ห้ามนำไปใช้เพื่่อประโยชน์ทางธุรกิจ และห้ามดัดแปลง
References
จอมเกล้าพระนครเหนือ, 2552
[2] ประยูร สุรนิทร์ และคณะ, การเพิ่มผลผลิตโดยการปรับปรุงวิธีการทำงานกรณีศึกษา : บริษัทเซมิคอนดักเตอร์ จำกัด, การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ 51. ตุลาคม 2551.
[3] ภาวิณี อาจปรุ และสุทัศน์ รัตน์เกื้อกังวาน, การลดเวลาสูญเปล่าในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เบรคเกอร์, วารสารรามคำแหง ฉบับวิศวกรรมศาสตร์. ปีที่ 2. กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2551
[4] รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม และเนื้อโสม ติงสัญชลี, การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา, กรุงเทพมหานคร : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2538.
[5] วิจิตร ตัณฑสุทธิ,์ การศึกษาการทำงาน, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
[6] วัชระ อาสนไพบูลย์, การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานผลิตคอมปาวด์, สารนิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 2552.
[7] อารียา ตงสาลี, การศึกษาแนวทางการกำหนดเวลามาตรฐานในการทำงานสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม, การศึกษาปัญหาพิเศษ วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม ภาควิชาวิศกรรมอุตสา
หการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 2545.