ความสัมพันธ์ระหว่างความพร้อมเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนกับการพัฒนาสมรรถนะ ของครูในสถานศึกษา อำเภอลำลูกกา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี
คำสำคัญ:
ความพร้อมเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน, การพัฒนาสมรรถนะครูบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความพร้อมเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2) ระดับการพัฒนาสมรรถนะของครูในสถานศึกษา และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างความพร้อมเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนกับการพัฒนาสมรรถนะของครูในสถานศึกษา อำเภอลำลูกกา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 4 จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูในสถานศึกษา อำเภอลำลูกกา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จำนวน 162 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามแบบมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความพร้อมเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ 2) ระดับการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรในโรงเรียนอยู่ในระดับมากทั้งโดยรวมและรายด้านและ3) ความสัมพันธ์ระหว่างความพร้อมเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนกับการพัฒนาสมรรถนะของครูในสถานศึกษา อำเภอลำลูกกา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี มีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
References
กรรณิการ์ สุวรรณศรี. (2555). การพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
ขนิษฐา ห้านิรัต. (2555). “แผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 ของประเทศไทย”. สืบค้นวันที่ 16 กันยายน 2555. จาก http://www. bic.moe.
go.th.
ชินวรณ์ บุณยเกียรติ. (2553). “การเตรียมพร้อมด้านการศึกษาของไทยเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558”. สืบค้นวันที่ 10 สิงหาคม 2556. จาก. http://www.chinnaworn.com.
ชัยอนันต์ หาญจิต. (2555). การศึกษาความสัมพันธ์ของการบริหารสถานศึกษาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงที่สอดคล้องกับแนวทางการขับเคลื่อนการศึกษาในประชาคมอาเซียนของโรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษาเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ดวงนภา มกรานุรักษ์. (2554). อนาคตของการอาชีวศึกษาไทยในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2554 –2564). วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปรัชญา ฤๅชา. (2550). การพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานของสถานศึกษา ขนาดเล็กตามทัศนะของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ฤกษ์ชัย ใจคาปัน. (2549). การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา อำเภอจอมทอง เขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา. (2551). โครงการพัฒนาสมรรถนะของครูตามระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. (2555). “วารสารประชาสัมพันธ์สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4”. สืบค้นวันที่ 10 มิถุนายน 2556. จาก www.ssps4.go.th2ssps4.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). แนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน. กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2552). “นโยบาย 4 ใหม่ของกระทรวงศึกษาธิการ”. สืบค้นวันที่ 3 ตุลาคม 2556. จาก http ://www.ubu.ac.th.
สำนักพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการบริหารงานบุคคลของ ข้าราชการครบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สกสค.
ศรายุทธ ปั้นคุ้ม. (2553). “พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ” . สืบค้นวันที่ 9 สิงหาคม 2556. จาก http ://www.moe.go.th.
ASEAN. (2552). “นโยบาย 5 ประการของกระทรวงศึกษาธิการในการดาเนินงานตามปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษาเพื่อจัดทาแผนปฏิบัติการอาเซียนด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ”. สืบค้นวันที่ 12 ตุลาคม 2556. จาก http://www.bcca.go.th.
Krejcie, R. V. and Daryle W. M..(1970). “Determining sample size for research activities”. Education and Psychological Measurement.
McClelland, D.C. (1973). Test for Competence, rather than intelligence. American. Psychologists, 17 (7), 57.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว