ผลของการใช้โปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ผู้แต่ง

  • วริษฐา คมขำ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • มฤษฎ์ แก้วจินดา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

การปรึกษาแบบกลุ่ม, ความฉลาดทางอารมณ์, ทฤษฎีเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาโปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมต่อความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียน 2) เพื่อศึกษาผลคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2556 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนจำนวน 11 คน ซึ่งมีผลคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ต่ากว่าช่วงคะแนนปกติ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) โปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมเพื่อนำมาพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ 2) แบบบันทึกประสบการณ์ของนักเรียน 3) แบบบันทึกของผู้นำกลุ่มให้การปรึกษา และ 4) แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ สำหรับเด็กอายุ 12 -17 ปี ของกรมสุขภาพจิต (2546) การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมติฐานใช้ Sign Test ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่เข้าร่วมโปรแกรมตามทฤษฎีตามทฤษฎีเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ มีผลคะแนนความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มขึ้น และ 2) นักเรียนที่เข้าร่วมโปรแกรมฯ มีความพึงพอใจ และมีความสุขในชีวิตมากขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ

References

กาญจนา ไชยพันธุ์. (2549). การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม. กรุงเทพมหานคร : เอสพริ้นติ้งเฮ้าส์

กิ่งแก้ว ทรัพย์พระวงศ์. (2552). จิตวิทยาทั่วไป. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

กร ศิริโชควัฒนา. (2555). Super E.Q. ความสุข & ความสำเร็จ สร้างได้ด้วยหัวใจ. กรุงเทพมหานคร : รุ่งเรื่องสาส์นการพิมพ์.

กรมประชาสัมพันธ์. (ม.ป.ป).“พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่คณะครูและนักเรียนที่ได้รับพระราชทานรางวัลภูมิพลอดุลยเดชวันที่ 11 กรกฎาคม 2522”. สืบค้นวันที่ 1 มกราคม 2556. จาก http://พระบรมราโชวาทblogspot.com/

กรมสุขภาพจิต. (2543). ความฉลาดทางอารมณ์. นนทบุรี : ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

...... (2543). รายงานวิจัยการพัฒนาแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ สำหรับประชาชนไทย อายุ 12 - 60 ปี. กรุงเทพมหานคร : วงศ์กมล โปรดักชั่น.

...... (2543). อีคิว : ความฉลาดทางอารมณ์. นนทบุรี : ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

...... (2544). อีคิว : ความฉลาดทางอารมณ์. นนทบุรี : ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

...... (2545). รายงานวิจัยการพัฒนาแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ เด็กอายุ 3 - 5 ปี และ 6 - 11 ปี. กรุงเทพมหานคร : องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

...... (2549). “การสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์” IQ EQ พัฒนาสติปัญญาเด็กไทย.กรุงเทพมหานคร : พี.เอส.ซัพพลาย.

...... (2550). คู่มือการดูแลจิตใจในภาวะวิกฤต. นนทบุรี : ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2554). “การประชุมคณะรัฐมนตรีเรื่องข้อเสนอของสภานักเรียน ประจาปี 2554 ประเภทที่ 3 หัวข้อ ความเสื่อมโทรมของสถาบันครอบครัว”. สืบค้นวันที่ 24 พฤศจิกายน 2556. จาก http://wvvw.m-society.go.th

กระทรวงวัฒนธรรม และสถาบันรามจิตติ. (ม.ป.ป).“สำรวจวัฒนธรรมการใช้ชีวิตของเด็กและเยาวชน เรื่องชีวิตไซเบอร์”. สืบค้นวันที่ 27 เมษายน 2556. จาก http://www.ramajitti.com/.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). คำสั่งเรื่องให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา.

ก่องแก้ว เจริญอักษร. (2545). การพัฒนาบุคลิกภาพตามแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2555 - 2559. กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2551). มิติทางสังคมวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อความรุนแรงในเด็กและเยาวชน. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

จิตตินันท์ บุญสถิรกุล. (2548). จิตวิทยาวัยรุ่นในโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

จิรนันท์ พึ่งกลั่น และ ชานนท์ จันทรา. (2555). “การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานะการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ในห้องเรียนกับชีวิตประจำวัน”. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 27(3): 131 - 140.

ฉัตรลัดดา ภูวสิทธิถาวร. (2554). ผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีต่อการคิดเชิงบวกของเด็กวัยเรียน. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ฉัตรสุดา แจ่มประโคน. (2549). ผลการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมในการเผชิญความโกรธของวัยรุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชนิกา ตู้จินดา และสุมน อมรวิวัฒน์. (2008).“ครอบครัวกับการพัฒนา IQ, EQ เด็ก”. สืบค้นวันที่ 16 กรกฎาคม 2556. จาก http://www.iqeqdekthai.com.

ชมรมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่นแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป). “คู่มือการเลี้ยงลูก”. สืบค้นวันที่ 19 พฤษภาคม 2556. จาก http://www.rcpsycht.org/.

ชัยณรงค์ อ่าผึ้ง. (2550). ผลของการให้คำปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมที่มีต่อความรับผิดชอบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์วิทยาปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ฐิติมา วัยเจริญ. (2549). ผลการให้คำปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมต่อความภาคภูมิใจในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มาจากครอบครัวไม่สมบูรณ์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ฐิติวี แก้วพรสวรรค์, สิรินัดดา ปัญญาภาส และถิรพร ตั้งจิตติพร. (2555). “ประสิทธิผลการทากิจกรรมกลุ่มแนวพุทธต่อการพัฒนาความคิดเห็นทางคุณธรรมด้านกัลยาณมิตรของวัยรุ่น”. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 57(4): 415 - 417.

..... และ พัชนีวรรณ อินต๊ะ. (2553). “ผลของกิจกรรมกลุ่มแนวพุทธต่อการพัฒนาความคิดเห็นทางจริยธรรมด้านความมีวินัยของวัยรุ่น.” วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 55(2): 145 - 148.

ณัฏติยากรณ์ หยกอุบล. (2555). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตสังกัดคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ”. วารสารการศึกษาและพัฒนาสังคม 8 (1): 85 - 96.

ดวงมณี จงรักษ์. (2549). ทฤษฎีการให้การปรึกษาและจิตบำบัดเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

ธัญญา แหมา. (2549). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สำนักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยารามคาแหง.

ธัญญารัตน์ ลำทา. (2550). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตบางกะปิ สังกัด กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

ธนะ เอี่ยมอนันต์. (2550). EQ ดีใน 7 วัน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : บิสคิต. แปลจาก Jill Dann. 2002. Emotional Intelligence IN A WEEK. London : Hodder and Stoughton Limited.

นนทวัฒน์ อิทธิจามร. (2555). แรงจูงใจบทเรียนสำคัญที่สุดของความสำเร็จระดับตำนาน. กรุงเทพมหานคร : คอนเซ็พท์พริ้นท์

นพมาศ อุ้งพระ. (2546). ทฤษฎีบุคลิกภาพและการปรับตัว. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นวรัตน์ รังษิยาภา. (2550). ผลโปรแกรมการฝึกตามแนวการพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมต่อความเข้มแข็งในการมองโลกและการควบคุมตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นวลลักษณ์ บูรณะกิติ. (2548). ผลการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎี REBT และการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎี REBT ร่วมกับดนตรีบำบัด ที่มีต่อความฉลาดทางอารมณ์ของเยาวชนในศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน. (รายงานผลการวิจัย). ขอนแก่น : โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นราธิป นัยนา. (2546). ก้าวข้ามความคิดเดิม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : คาเรคเตอร์เบรคทรู. แปลจาก Paul Hauck. n.d. Hold Your Head Up High. London: Tuttle-Mori Agency.

นิธิวดี เพียรรักกิจการค้า. (2554). ผลการใช้ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์แบบปฏิบัติการเรื่องโจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.

นรินทร์ธร ผาริการ. (2553). ผลของการจัดกิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

นิรมล วัฒนเหลืองอรุณ. (2552). ผลของการฝึกความฉลาดทางอารมณ์ ที่มีต่อการควบคุมตนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นิรันดร์ จุลทรัพย์. (2554). การแนะแนวเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 4). สงขลา : นาศิลป์โฆษณา.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2554). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพมหานคร : จามจุรีโปรดักท์.

บุญสม สวนยะศรี. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทในการส่งเสริมการศึกษาของครอบครัวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในเขตธนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

บุญเรียง ขจรศิลป์. (2545). สถิติวิจัย I (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร : เอส. พี. เอ็น.

บัวทอง สว่างโสภากุล. (2541). การให้คำปรึกษา (เทคนิคและทฤษฎี). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (อัดสาเนา).

ประทุม แป้นสุวรรณ. (2545). การให้คำปรึกษากลุ่มด้านเพศศึกษาวัยรุ่นในกลุ่มเสี่ยง. กรุงเทพมหานคร : กอบปี้ แอนด์ พริ้นท์.

ปวีณา เที่ยงพรม. (2555). “วิจารณ์หนังสือผลของการให้คำปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีการพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมที่มีต่อความหยุ่นตัวทางอารมณ์ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต 4 จังหวัดขอนแก่น.” วารสารศึกษาศาสตร์, 6 (1) : 69 - 78.

ไปรมา กุหลาบซ้อน. 2553. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานกลุ่มของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พัชรมณฑ์ เจียมศักดิ์. (2550). การสร้างโปรแกรมเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

พัชรา เอี่ยมกิจการ. (ม.ป.ป). “เหรียญสองด้านในสังคมออนไลน์อย่างเสี่ยงทายกับเด็กไทย”. สืบค้นวันที่ 9 เมษายน 2556. จาก http://www.ramajitti.com/info.php.

พัชรินทร์ ทรัพย์ที่พึ่ง. (2555). “วิจารณ์หนังสือผลการให้คำปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมต่อพฤติกรรมการกล้ายืนยันตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2”. วารสารศึกษาศาสตร์ 23 (3) : 137 - 150.

พนม เกตุมาน. (ม.ป.ป). “การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม”. สืบค้นวันที่ 16 กรกฎาคม 2556. จาก http://www.psyclin.co.th.

พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. (2553). ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร : แอคทีฟพริ้น.

พรรณี ช. เจตจิต. (2538). จิตวิทยาการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร : คอมแพคท์พริ้นท์.

พวงเพชร วัชรอยู่. (2545). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : จามจุรีโปรดักท์.

ภทรพร ยุทธาภรณ์พินิจ. (ม.ป.ป). “การพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ตามแนวคิดของ ป.อ.ปยุตโต”. สืบค้นวันที่ 6 เมษายน 2556. จาก http://prv.nrct.go.th/.

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2555). สุขภาพดีไม่มีขาย แต่ทำได้ด้วยตนเอง. ปทุมธานี : ลักษมีรุ่ง.

มารศรี ภู่พลพิศาล. (2552). การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์โดยใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ และความร่วมมือของผู้ปกครองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนรุ่งอรุณวิทยา อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. วิทยาลัยเซนต์หลุยส์.

มาลี จุฑา. (2544). การประยุกต์จิตวิทยาเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร : ทิพยวิสุทธิ์.

เมธี ธรรมวัฒนา. (2555). “กลยุทธ์การสร้างแรงจูงใจที่มีประสิทธิภาพในชั้นเรียน.” วารสาร ศึกษาศาสตร์, 23 (3) : 17 - 25.

รามจิตติ. (ม.ป.ป). “พื้นที่สื่อในชีวิตเด็กไทย”. สืบค้นวันที่ 9 เมษายน 2556. จาก http://www.ramajitti.com/

....., และ สถาบันราชานุกูล. (ม.ป.ป). “วิจัยการติดตามสภาวการณ์ไอคิวและอีคิวของเด็กไทย (IQ/EQ Watch)”. สืบค้นวันที่.27 เมษายน 2556. จาก http://www.ramajitti.com/

โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์. (2550). การประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop) เรื่อง การซ่อมเสริมไอคิว อีคิว. 7-8 มิถุนายน 2550. กรุงเทพมหานคร.

วิทยา นาควัชระ. (2544). วิธีเลี้ยงลูกให้ เก่ง ดี และมีสุข (IQ EQ MQ AQ). (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร : GOODBOOK ในเครือสถาบันพัฒนาตนเองและนักบริหาร.
วราภรณ์ สืบสหการ. (2545). ทัศนคติ เจตคติเต็ม 100. กรุงเทพมหานคร : Be Bright Books.

วัชรี ทรัพย์มี. (2551). ทฤษฎีให้การปรึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

..... (2530). “วิจารณ์หนังสือผลของการให้การปรึกษาแบบกลุ่มต่อการปรับตัวกับเพื่อนของนักเรียนมัธยมศึกษา”. วารสารแนะแนว 21 (111) : 17 - 22.

วิจารณ์ พานิช. (2554). “การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร : 6. สิ่งที่จูงใจนักเรียนให้อยากเรียน”. สืบค้นวันที่ 6 เมษายน 2556. จาก http://www.gotoknow.org/

วิทยากร เชียงกูล. (2554). จิตวิทยา ความฉลาด และความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : สายธาร.

ศิริกุล อิศรานุรักษ์. (2549). “พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคมของเด็กวัย 6-12 ปี.” วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา, 4(2): 89 - 90.

ศิริบูรณ์ สายโกสุม. (2555). การให้คำปรึกษาเป็นกลุ่ม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

ศุภรัตน์ เอกอัศวิน. (2551). “การสำรวจสถานการณ์ และเกณฑ์ปกติ (Norms) ความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กไทยอายุ 3-5 ปี และ 6-11 ปี พ.ศ. 2550.” วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 53 (2) : 199 – 205.

ศูนย์การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม. (2555). รายงานผลการสำรวจความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานครปี 2554. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์. (2556). กิจกรรมกลุ่มพัฒนาทักษะเยาวชน. นนทบุรี : ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สมพิศ ใจกล้า. (ม.ป.ป). “วิจารณ์หนังสือผลการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมต่อการพึ่งตนเองด้านจิตใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาอาชีวศึกษา”. วารสารรามคำแหง 28 (1) : 747 - 761.

สมภพ ประยูรรัตน์. (2551). ผลการให้คำปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมที่มีต่อการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมด้านความซื่อสัตย์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2553). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุขสันต์ หัตถสาร. (2550). ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการทำกลุ่ม การเห็นคุณค่าในตนเองและเจตคติต่อการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.

สุธาสินี เถาว์กลาง. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทบิดา มารดา กับการเห็นคุณค่าในตนเองและพฤติกรรมการมีวินัยในตนเองของวัยเด็กตอนกลาง เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุปราณี เพชรา. (2553). การพัฒนารูปแบบการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2554). จิตวิทยาการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานทดสอบทางการศึกษา และสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สำนักสถิติเศรษฐกิจและสังคม และสำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). สรุปข้อมูลเบื้องต้น สำรวจการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารในครัวเรือน. กรุงเทพมหานคร : สถิติพยากรณ์.

สมชาย ไตรรัตนภิรมย์. (2540). แรงจูงใจหัวใจแห่งการจัดการสไตล์ญี่ปุ่น. (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพมหานคร : เอส. พี. เอ็น. แปลจาก โยชิโอะ คอนโดะ. (ม.ป.ป). HUMAN MOTIVATION A Key Factor for Management. n.d. Tokyo : 3A Corporation.

สุวรี ศิวะแพทย์. (2549). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2554). จิตวิทยาการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสรี ใหม่เจริญ. (2553). การวิเคราะห์องค์ประกอบและเสริมสร้างอิสระแห่งตนของนักเรียนวัยรุ่นโดยการให้คำปรึกษากลุ่ม. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

สิรินัดดา ปัญญาภาส, ฐิตวี แก้วพรสวรรค์ และ ฑิฆัมพร ริ้วธงชัย. (2554). “การศึกษาผลของกิจกรรมกลุ่มต่อการพัฒนาความคิดเห็นทางจริยธรรมด้านความซื่อสัตย์ของวัยรุ่น”. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 56 (4) : 355 - 360.

สิริอร วิชชาวุธ และคณะ. (2554). จิตวิทยาทั่วไป. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

แสงอุษา โลจนานนท์ และกฤษณ์ รุยาพร. (2543). EQ with Thai SMILE การบริหารอารมณ์ด้วยรอยยิ้มแบบไทยๆ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร : มิตรนรา.

อังคณา ช่วยค้ำชู. (2554). “วิจารณ์หนังสือผลของการให้คำปรึกษาตามแนวคิดการปรับการความคิดและพฤติกรรมแบบกลุ่มต่ออาการซึมเศร้าและพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีโรคซึมเศร้าร่วม”. วารสารสภาการพยาบาล, 26 (1) : 70 - 80.

อมรากุล อินโอชานนท์. (2555). กิจกรรมเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์เด็กอายุ 3 - 11 ปี. (พิมพ์ครั้งที่ 7). สำนักพัฒนาสุขภาพจิต : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

อริยะ สุพรรณเภษัช. (2545). พัฒนา IQ. EQ. MQ. และสมาธิด้วยพลังคลื่นเสียง. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อารี พันธ์มณี. (ม.ป.ป). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ.

เอมอร มาตะรักษ์, สมนึก ภัททิยธนี และ มะลิวัลย์ ถุนาพรรณ์. (2554). “การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีสไตล์การเรียน ความถนัดทางการเรียนและภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันแตกต่างกัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1”. วารสารการวัดผลการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 17(1), 417 - 418.

อนัญญา สินรัชตานันท์ และ ฐิตวี แก้วพรสวรรค์. (2553). “ความมีวินัยในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนในโครงการสุขภาพจิตโรงเรียน สาขาวิชาจิตเวชเด็กและวัยรุ่น ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล”. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 55 (2), 157 - 158.

อรชุมา เก่งชน. (2550). คู่มือโน้มน้าวใจคน. กรุงเทพมหานคร : บิสคิต.

อริยา คูหา. (2545). แรงจูงใจและอารมณ์. ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2544). สร้าง EQ. ให้ลูกคุณ. กรุงเทพมหานคร : ซันต้า.

โอลั้ง เพ่งจินดา และคณะ. (2554). “ผลของการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมที่มีต่อภูมิคุ้มกันตนเองของนักเรียนวัยรุ่น”. วารสารศึกษาศาสตร์, 23 (1) : 216.

Anonymous, (n.d). “Become Smarter! Develop your Emotional and Cultural Intelligence!”. Retrieved April 12, 2014, from http://www.meetup.com/.

..... n.d. “Intelligence for you and your Company or Organisation”. Retrieved April 12, 2014, from http://www.eisa.ie.

Bergin, C.C. and Bergin, A.D. (n.d). Child and Adolescent Development in your Classroom. Belmont, CA : Wadsworth Cengage Learning.

Coon, D. and Mitterer, O. J. (n.d). “Motivation and Emotion, by Linda Schreiber”. Psychology A Journey, 4 (4) : 343 – 346.

Corey, G. (2008). Theory and Practice of Group Counseling. (7th ed.). Belmont, CA : Thomson.

Corey, G. (2005). Theory and Practice of Counseling & Psychotherapy. (7 th ed.). Belmont, CA : Thomson.

Ellis, A. (1995). Better, Deeper, and More Enduring Brief Therapy the Rational Emotive Behavior Therapy Approach. Bristoi, PA: Brunner/Mazel.

..... (1997). The Practice of Rational Emotive Behavior Therapy. (2nd ed.). New York : Berryville.

Geldard, K. and Geldard, D. 2008. Counseling Children: A Practical Introduction. (3rd ed.). London : SAGE.

Goleman, D. (1995). Emotional Intelligence. (2nd ed.). New York : One Plus One Studio.

Johari, W. (2003). “A model forself – awareness, personal development, group development and understanding relationship”. Retrieved April 29, 2014, from, htttp://www.businessballs.com.

Norman, C. G. and Henderson, P. (2012). Developing & Managing Your School Guidanc & Counseling Program. (5th ed). Alexandria : American Counseling Association.

Pallant, J. 2007. SPSS Survival Manual. New York : McGraw-Hill.

Salovey, P. and Mayer, J. (1990). “Emotional Intelligence”. Retrieved April 29, 2014, from http://www.danielgoleman.info/topics/emotional-intelligence,.

..... (1997). “Daniel Goleman’s five components of emotional intelligence”. Retrieved April, 29, 2014, from http://sonoma.edu.

Schmidt, J.J. (2008). Counseling in Schools Comprehesive Programs of Responsive Services for All Students. (5 th ed.). Boston, MA : Pearson.

Bradberry, T. (2011). “How Emotional Intelligence Can Make You Better in 2011”. Retrieved April 12, 2014, from http://www.talentsmart.com

Dryden, W. and Neenan, M. (2004). Rational Emotive Counselling in Action. (3rd ed.). Great Britain : SAGE.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-06-26