การใช้โปรแกรมการปรึกษาด้านอาชีพแบบกลุ่มเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในอาชีพ ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

ผู้แต่ง

  • สุนารี จุลพันธ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • มฤษฎ์ แก้วจินดา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

โปรแกรมการปรึกษาด้านอาชีพแบบกลุ่ม, การตระหนักรู้ในอาชีพ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาโปรแกรมการปรึกษาด้านอาชีพแบบกลุ่ม 2) สารวจการตระหนักรู้ในอาชีพของนักศึกษา และ 3) เปรียบเทียบผลการตระหนักรู้ในอาชีพของนักศึกษาโดยใช้โปรแกรมการปรึกษาด้านอาชีพแบบกลุ่ม และแบบสอบถามด้านการตระหนักรู้ในอาชีพกลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 (เทียบโอน) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผลการวิจัยพบว่า 1) ก่อนการทดลองนักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนการตระหนักรู้ในอาชีพไม่แตกต่างกับนักศึกษากลุ่มควบคุม 2) ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาด้านอาชีพแบบกลุ่มนักศึกษากลุ่มทดลองมีการตระหนักรู้ในอาชีพเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3)นักศึกษากลุ่มทดลองที่เข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาด้านอาชีพแบบกลุ่มมีค่าคะแนนจากแบบสอบถามการตระหนักรู้ในอาชีพเพิ่มขึ้นมากกว่านักศึกษา ในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

จันทร์เพ็ญ ภูโสภา. (2550). การสร้างพัฒนาชุดฝึกการคิดเพื่อการตระหนักรู้คุณค่าแห่งตนของนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. (รายงานผลการวิจัย). มหาสารคาม : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.

จรินทร์ บุญสุชาติ. (2549). การให้คำปรึกษาแบบรายบุคคลตามแนวทฤษฎีโรเจอร์เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ปกครองบุคคลออทิสติก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ชูศรี วงศ์รัตนะ และ องอาจ นัยพัฒน์. (2551). แบบแผนการวิจัยเชิงทดลองและสถิติวิเคราะห์ : แนวคิดพื้นฐานและวิธีการ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัชชา หลาแสงกุล. (2547). ผลการให้คำปรึกษาทางอาชีพแบบกลุ่มต่อการตระหนักรู้ในอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคาแหง

ณัฐพัชร์ ทองคำ. (2549). การพัฒนาสื่อเพื่อการสร้างความตระหนักต่อการมุ่งสู่ตาบลแข็งแรง โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน : กรณีศึกษาตำบลมหาสวัสดิ์ จังหวัดนครปฐม.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดวงฤดี พ่วงแสง. (2548). ผลของการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มที่มีต่อการปรับตัวของนิสิต. สงขลา : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ดวงมณี จงรักษ์. (2549). ทฤษฎีการให้การปรึกษาและจิตบาบัดเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

ถวิล ธาราโภชน์ และศรัณย์ ดาริสุข. 2548. พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน (พิมพ์ครั้งที่ 5).กรุงเทพมหานคร : ทิพย์วิสุทธิ์.

นุชลี อุปภัย. (2556). จิตวิทยาการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประกายรัตน์ สุวรรณ์ และ อมรวิทย์ วิเศษสงวน. (2552). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS เวอร์ชั่น 20. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ปุริมาพร แสงพยับ. (2553). ผลการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีเผชิญความจริงที่มีต่อการตระหนักรู้และการเห็นคุณค่าในตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

พงษ์พันธ์ พงษ์โสภา. (2543). ทฤษฎีและเทคนิคการให้คำปรึกษา. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาศึกษา.

พงษ์พันธ์ พงษ์โสภา. (2544). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาศึกษา.

พนม ลิ้มอารีย์. (2548). การแนะแนวเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : โอ เอสพริ้นติ้งเฮาส์.

ยงยุทธ แฉล้มวงษ์. (2555). “กระทรวงแรงงานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน แก้ปัญหาบัณฑิตตกงาน”. กรุงเทพธุรกิจ (16 กรกฎาคม 2555).

สถาบันอนาคตไทยศึกษา. (2553). อนาคตไทย...เราเลือกได้. (อัดสำเนา)

สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย. (2533). แบบทดสอบ Self Directed Search (S.D.S.). (อัดสำเนา)

แสนชัยโพธิสินธุ์. (2546). การศึกษาผลของการให้คำปรึกษากลุ่มตามแนวโรเจอร์กับการให้ข้อสนเทศที่มีต่อการตระหนักรู้ค่านิยมในอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.

หอสมุดแห่งชาติ. (2553). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพุทธศักราช 2553. กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน.

Bloom, B.S., Thomas, J. S., Madaus, G.F. (1971). Young Children, their Curriculum and Learning Process. New York : n.p.

Corey, G. (2007). Theory and Practice of Group Counseling. (7 thed). Pacific Grove, CA : Brooks/Cole.

Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. New York : McGraw-Hill.

Journal of Counseling & Development. (2004). The Association for Specialists in Group Work.

Pallant, J. (2003). SpssSupvival Manual. New York : McGraw-Hill.

Rogers, C. R., and Barry Stevens. (1967). Person to Person: the Problem of Being Human: ANew Trend in Psychology. Walnut Creek, CA: Real People Press.

Roger, E. M. (1962). Diffusion of Innovations (5 thed). New York : Free Press.

Springston, T. (2007). Jean Piaget’s Theory of Development . Retrived May 7, from http://www.Snycorva.cortland. edu/-andersmd/piaget/open.ht.65.

Shelley, B., and Stone, S. C. (1968). Guidance Monograph Series : Organization andadministration. Houghton Mifflin.

Smart, J. C., Feldman, K. A., and Ethington, C. A. (2000). Holland's Theory and theStudy of College Students and Faculty. Vanderbilt University Press.

Super, D. E. (1957). Career pattern as a basic for vocational. New York : Harper and Brothers.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-06-26