การแบ่งปันความรู้
คำสำคัญ:
การแบ่งปันความรู้บทคัดย่อ
บทความวิชาการการนาเสนอเกี่ยวกับการแบ่งปันความรู้ในองค์การ ซึ่งปัจจุบันทั้งองค์การภาครัฐและภาคเอกชนจำนวนมากให้ความสนใจในการนำแนวคิดการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) เข้ามาประยุกต์ใช้ในองค์การ และการจัดการความรู้จะไม่ได้ผลเลยถ้าไม่นำแนวคิดของการแบ่งปันความรู้ไปใช้ให้เหมาะสม เพราะว่าการแบ่งปันความรู้นั้นเป็นกระบวนการที่สำคัญที่สุดของการจัดการความรู้ ที่จะนำพาองค์การให้ประสบความสำเร็จและก้าวไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ที่สมบูรณ์
References
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2553). “เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เพื่อองค์การที่เป็นเลิศ. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้”. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2553, จาก http://www.tqa.or.th/th/node/700.
K., & Dominique, F. (Eds.), Advancing knowledge and the knowledge Economy. Cambridge: The MIT press. pp.17-23.
Augier, M., & Teece, D.J. (2007). Perspectives on research and development Organizing and Managing innovation in a (Global) knowledge-based- Economy. In Ichijo, K., and Nonaka, I. (Eds.), Knowledge creation and Management. New Challenges for managers. Oxford: Oxford University Press. pp.198-212.
Bratianu, C., and Bolisani, E. (2015). “Knowledge strategy: An integrated Approach for managing uncertainty.” In Garlatti, A., and Massaro, M. (Eds.), Proceedings of the European Conference on Knowledge Management Reading: Academic Conferences International Limited. pp.169-177.
Bratianu, C. (2013). “The triple helix of the organizational knowledge. Management dynamics in the knowledge economy,”Vol. 1, No. 2, pp. 207-220.
Cohendet, P., and Joly, P.B. (2002). The production of technological knowledge: New issues in a learning economy. In Archibugi, D., and Lundvall, B.-Å. (Eds.), the globalizing learning economy. Oxford: Oxford University Press. pp.63-82.
Etzkowitz, H., Webster, A., and Healey, P. (1998). Capitalizing knowledge. New interactionsof industry and academia. Albany: State University of New York.
Grant, R.M. (2002). The knowledge-based view of the firm. In Choo, C.W., and Bontis, N. (Eds.), The strategic management of intellectual capital and organizational knowledge Oxford: Oxford University Press. pp.133-148.
Hadad, S. (2017). “Knowledge economy: Characteristics and dimensions.” Management dynamics in the Knowledge economy, 5(2), 203-225.
Hanushek, E.A., and Woessmann, L. (2015). “The knowledge capital of nations Education and economic growth.” Cambridge: The MIT Press.
Rooney, D., Hearn, G., and Ninan, A. (2005). Knowledge: concepts, policy, implementation. In Rooney, D., Hearn, G., and Ninan, A. (Eds.), Handbook on the knowledge economy Cheltenham: Edward Elgar. pp.178-190.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว