การพัฒนาเกมเพื่อการเรียนรู้ เรื่องตัวกลางการสื่อสารข้อมูล สำหรับมัธยมศึกษาปีที่ 2

Main Article Content

นภารัตน์ บุตรแดงน้อย
สวียา สุรมณี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาเกมเพื่อการเรียนรู้ เรื่องตัวกลางการสื่อสารข้อมูล 2) หาคุณภาพของเกมเพื่อการเรียนรู้ เรื่องตัวกลางการสื่อสารข้อมูล 3) หาดัชนีประสิทธิผลของเกมเพื่อการเรียนรู้ เรื่องตัวกลางการสื่อสารข้อมูลและ 4) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อเกมเพื่อการเรียนรู้ เรื่องตัวกลางการสื่อสารข้อมูล 


ผลการวิจัยพบว่า 1) ได้เกมเพื่อการเรียนรู้ เรื่องตัวกลางการสื่อสารข้อมูล สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2


2) คุณภาพของเกมเพื่อการเรียนรู้ เรื่องตัวกลางการสื่อสารข้อมูล สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด


3) ดัชนีประสิทธิผลของเกมเพื่อการเรียนรู้ เรื่องตัวกลางการสื่อสารข้อมูล สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.62 หรือร้อยละ 62 และ 4) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อเกมเพื่อการเรียนรู้ เรื่องตัวกลางการสื่อสารข้อมูล สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

How to Cite
บุตรแดงน้อย น., & สุรมณี ส. (2018). การพัฒนาเกมเพื่อการเรียนรู้ เรื่องตัวกลางการสื่อสารข้อมูล สำหรับมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิชาการ "การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ", 3(1), 29–35. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/152854
บท
บทความวิจัย

References

ธนสาร รุจิรา. (2558). เกมส่งเสริมการเรียนรู้แบบผสมผสาน เรื่อง การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์. เอกสารการประชุม
วิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมครั้งที่ 1, 206.
พรชนัน ดาราพงษ์. (2555 : 37-42). การออกแบบเกมดิจิตอลเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์สำหรับชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 3. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ศิลปกร).
พรชรพรรณ ชรารัตน์ (2558 : 2026-2037). เกมพัฒนาการสอน เรื่อง การแปลงเลขฐานในระบบคอมพิวเตอร์. (วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม).
พิสุทธา อารีราษฎร์. (2555). การพัฒนาซอฟท์แวร์ทางการศึกษา. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
ประหยัด จิระวรพงศ์. (2559). Games Based Learning : สื่อการเรียนรู้รูปแบบใหม่ของไทย. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2560,
จาก http://nuybeam.blogspot.com/2010/08/game-based-learning.html
สุทธิกานต์ บ่อจักรพันธ์, ณธกร ภาโนมัย, โชติรส สุวรรณพรหม และปิยวัจน์ ค้าสบาย. (2559). บทเรียนแบบเกม เรื่อง การ
บวกเลขลัพธ์ไม่เกิน 1,000 สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมครั้งที่ 2, 283.
สุภาณี ศรีอุทธา. (2558). การพัฒนาเกมแอพพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรู้บนแท็บเล็ต. ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ สำหรับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4. เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมครั้งที่ 1, 70-78.