ผลของการจัดกิจกรรมค่ายวิชาการสานฝันจากพี่สู่น้องด้วยภูมิสารสนเทศ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่ายวิชาการสานฝันจากพี่สู่น้องด้วยภูมิสารสนเทศ 2) ศึกษาความต้องการศึกษาต่อในสาขาวิชาภูมิสารสนเทศ กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบเจาะจงเป็นนักเรียนชั้น ม.6 ที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้การวิจัย คือ แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามความต้องการศึกษาต่อในสาขาภูมิสารสนเทศ สถิติที่ใช้ ค่าเฉลี่ย S.D.
ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมค่ายวิชาการสานฝันพี่สู่น้องด้วยภูมิสารสเทศ ในระดับมาก 2) ความต้องการศึกษาต่อในสาขาภูมิสารสนเทศ อยู่ในระดับมาก
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
[1] ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2557). วัฒนธรรมคุณภาพ:สร้างคนสร้างชาติ. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
[2] สำนักมาตรฐานและคุณภาพอุดมศึกษา. (2557). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปีการศึกษา 2557. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.
[3] วิเชียร ชุติมาสกุล. (2553). การนำเสนอการพัฒนามาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาคอมพิวเตอร์และการพัฒนา รายละเอียดของหลักสูตร สืบค้นจาก
http://www.mua.go.th/users/tqfhed/news/FilesNews/FilesNews4/ppt4.pdf
[4] คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ. (2560). หลักสูตรภูมิสารสนเทศ.คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. มหาสารคาม.
[5] สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน). (2552). ตำราเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิง จำกัด
(มหาชน).
[6] สมพร สง่าวงศ์. (2543). รีโมทเซนซิงเบื้องต้น และกรณีศึกษารีโมทเซนซิ่ง. เชียงใหม่: นพบุรีการพิมพ์.
[7] พีระพงศ์ บุญศิริ. (2538). นันทนาการเบื้องต้น. เชียงใหม่: ดาว.
[8] ทศพร ไกรฤกษ์. (2550). ประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมค่ายวิชาการวชิรมงกุฏด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
[9] วิรุธ บัวงาม ดารชา เทพสุริยานนท์ และสุภัทรา กลางประพันธ์. (2557). ความต้องการการศึกษาต่อในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพความงามและสปา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาที่ 29. วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, 4(2), 61-71.
[10] วรรณพรรธน์ ริมผดี และคณะ. (2558). ปัจจัยในการตัดสินใจศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสวนดุสิตของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 2(3), 38-55.
[11] พิศาล เครือสิต และชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2559). ผลการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรค่ายสิ่งแวดล้อมที่มีต่อจริยธรรม สิ่งแวดล้อมของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 .วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18(1),115-165.
[12] มีสิทธิ์ ชัยมณี. (2559). การเลือกศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี. วารสาร มทรส.มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1(1),
97-107.
[13] ปรีดาภรณ์ กาญจนสำราญวงศ์ เขมิกา อุระวงศ์ ธนาพร คงรอด และอานีซะห์ สาและ. (2560). ความต้องการการศึกษา ต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
รัฐบาลจังหวัดสงขลา. วารสารวิจัยทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 11(1), 75-89.
[14] จาตุรนต์ สุขุมาลพงษ์, สมนึก ภัททิยธนี และฐิตาภรณ์ เวียงวิเศษ. (2560). ความต้องการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตวิทยาลัย มหาลัยขอนแก่น, 11(2), 31-40.
[15] สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2553). ระเบียบวิธีวิจัย สำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). มหาสารคาม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
[16] บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
[2] สำนักมาตรฐานและคุณภาพอุดมศึกษา. (2557). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปีการศึกษา 2557. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.
[3] วิเชียร ชุติมาสกุล. (2553). การนำเสนอการพัฒนามาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาคอมพิวเตอร์และการพัฒนา รายละเอียดของหลักสูตร สืบค้นจาก
http://www.mua.go.th/users/tqfhed/news/FilesNews/FilesNews4/ppt4.pdf
[4] คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ. (2560). หลักสูตรภูมิสารสนเทศ.คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. มหาสารคาม.
[5] สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน). (2552). ตำราเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิง จำกัด
(มหาชน).
[6] สมพร สง่าวงศ์. (2543). รีโมทเซนซิงเบื้องต้น และกรณีศึกษารีโมทเซนซิ่ง. เชียงใหม่: นพบุรีการพิมพ์.
[7] พีระพงศ์ บุญศิริ. (2538). นันทนาการเบื้องต้น. เชียงใหม่: ดาว.
[8] ทศพร ไกรฤกษ์. (2550). ประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมค่ายวิชาการวชิรมงกุฏด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
[9] วิรุธ บัวงาม ดารชา เทพสุริยานนท์ และสุภัทรา กลางประพันธ์. (2557). ความต้องการการศึกษาต่อในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพความงามและสปา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาที่ 29. วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, 4(2), 61-71.
[10] วรรณพรรธน์ ริมผดี และคณะ. (2558). ปัจจัยในการตัดสินใจศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสวนดุสิตของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 2(3), 38-55.
[11] พิศาล เครือสิต และชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2559). ผลการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรค่ายสิ่งแวดล้อมที่มีต่อจริยธรรม สิ่งแวดล้อมของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 .วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18(1),115-165.
[12] มีสิทธิ์ ชัยมณี. (2559). การเลือกศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี. วารสาร มทรส.มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1(1),
97-107.
[13] ปรีดาภรณ์ กาญจนสำราญวงศ์ เขมิกา อุระวงศ์ ธนาพร คงรอด และอานีซะห์ สาและ. (2560). ความต้องการการศึกษา ต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
รัฐบาลจังหวัดสงขลา. วารสารวิจัยทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 11(1), 75-89.
[14] จาตุรนต์ สุขุมาลพงษ์, สมนึก ภัททิยธนี และฐิตาภรณ์ เวียงวิเศษ. (2560). ความต้องการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตวิทยาลัย มหาลัยขอนแก่น, 11(2), 31-40.
[15] สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2553). ระเบียบวิธีวิจัย สำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). มหาสารคาม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
[16] บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.