ระบบฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่านครศรีธรรมราช The Development of a Cultural Heritage Database to Promote Tourism in The Old Town Area of Nakhon Si Thammarat

Main Article Content

สุนิษา คิดใจเดียว
สมพร เรืองอ่อน
โสภี แก้วชะฎา
แสงจันทร์ เรืองอ่อน
ปฐมพงษ์ ฉับพลัน
กฤตภาส สงศรีอินทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่านครศรีธรรมราช 2) ประเมินประสิทธิภาพของระบบฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่านครศรีธรรมราช และ 3) ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่านครศรีธรรมราช โดยใช้กลุ่มตัวอย่างประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราชที่เรียนทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล หรือศิลปวัฒนธรรม จำนวน 25 คน และประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่เทศบาลนครนครศรีธรรมราช จำนวน 80 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) ระบบฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่านครศรีธรรมราช และ 2) แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่านครศรีธรรมราช ประกอบด้วย (1) การจัดการข้อมูลพื้นฐาน (2) การจัดการข้อมูลย่าน (3) การจัดการข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรม (4) การจัดการข้อมูลปฏิทินกิจกรรม และ (5) การนำเสนอมรดกทางวัฒนธรรม 2) ประสิทธิภาพของระบบฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่านครศรีธรรมราช พบว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก ( gif.latex?\overline{x} = 4.49) และ 3) ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่านครศรีธรรมราช พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( gif.latex?\overline{x} = 4.79)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

สำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม. (2565). เมืองเก่านครศรีธรรมราช. สืบค้น...เดือน....พศ....., จากhttps://culturalenvi.onep.go.th/site

/detail/4307.

สุวรรณี ห้วยหงษ์ทอง. (2563). การจัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม: การศึกษาเชิงปริทัศน์วรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. Journal of Information

Science, 38(3), 88-104.

UNESCO. (2017). Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage. Retrieved Feb ……. , คศ. ............ ,

from http:// whc.unesco.org/en/conventiontext

วีรชัย คำธร, ณัฐวัฒน์ เดชสวรรค์ และภักดี โพธิ์สิงห์. (2565). การพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมต้นแบบจากความหลากหลายตามแบบวิถีศาสนา ความเชื่อใน

ท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรี รับใช้สังคม, 8(1), 69-83

กิรฐากร บุญรอด, พรรณนภา เขียวน้อย และจันทร์ทิพย์ เจียรมาศ. (2565). แนวทางส่งเสริมการท่องเที่ยวส าหรับกลุ่มเจเนอเรชั่นวายในการเลือกแหล่งท่อง

เที่ยวของจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์, 14(3), 163-172.

ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม. (2562). เทคโนโลยีสำหรับการวิจัยในยุคสารสนเทศ: เครื่องมือสำหรับงานวิจัย. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, 14(16), 23-

บัญชา ปะสีละเตสัง. (2562). สร้างเว็บไซต์แบบ Responsive ด้วย Bootstrap ร่วมกับ CSS และ JavaScript. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน.

บัญชา ปะสีละเตสัง. (2562). พัฒนา Web Application ด้วย PHP และ MariaDB. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน.

พรศิลป์ บัวงาม, และอุทุมพร ศรีโยม. (2565). การพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยบูทแสตรป ฟอนท์เอ็น เฟรมเวิร์คในการบริหารจัดการข้อมูลข้าวพันธุ์พื้นเมืองในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารรัชต์ภาคย์, 16(48), 152-166.

แสงจันทร์ เรืองอ่อน, สมพร เรืองอ่อน, สุนิษา คิดใจเดียว, ปฐมพงษ์ ฉับพลัน, และพบศิริ ขวัญเกื้อ. (2562). การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนกู

เกิลแมพสำหรับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเสมือนจริงในจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารวิชาการ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 6(2), 8-

Wikipedia. (2023). web application. Retrieved Feb …. , คศ. ...... , from https://en.wikipedia.org/wiki/Web_application

กังวาน อัศวไชยวศิน และอรพิน ประวัติบริสุทธิ์. (2556). คู่มือสร้างเว็บไซต์ด้วย HTML5 CSS3 & JavaScript ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: โปรวิชั่น.

โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2560). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด.

วิจิตรา มนตรี, จำรัส กลิ่นหนู, สำราญ ไชยคำวัง, และศรีนวล ฟองมณี. (2560). การพัฒนาฐานข้อมูลบน อุปกรณ์เคลื่อนที่เกี่ยวกับภูมิปัญญา วัฒนธรรม และ

ประเพณีท้องถิ่นของชุมชนตำบลนาแล อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. วารสารการวิจัยกาสะลองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 11(3), 35-48.

อารีรัตน์ ชูพันธ์, และเสาวคนธ์ ชูบัว. (2565). การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการ ท่องเที่ยวในชุมชน อำเภอขนอม จังหวัด

นครศรีธรรมราช. วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, 8(1), 19-30.

นนทนันท์ แย้มวงษ์. (2564). การพัฒนาระบบฐานข้อมูลวัฒนธรรมท้องถิ่นในเขตจังหวัดนนทบุรี. Academic Journal of Humanities and Social

Sciences Burapha University, 29(2), 49-75.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2565). การสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ.2565 (ไตรมาส 2). สืบค้น วันที่...เดือน... พศ.

..., จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/ด้านICT/เทคโนโลยีในครัวเรือน/2565/full_report_q2_65.pdf

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2565). สถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศ รายจังหวัด ปี 2565. สืบค้น วันที่...เดือน... พศ. ..., จาก

https://www.mots.go.th /news/category/657

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

พัชราภรณ์ ชัยพัฒนเมธี. (2561). การพัฒนาระบบฐานข้อมูลปราชญ์ชาวบ้านในชุมชนวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารวิจัย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 10(2), 263-276.