การพัฒนาเฟอร์นิเจอร์ จากพาเลทไม้

ผู้แต่ง

  • สิงหา ปรารมภ์ คณะเทคโนโลยีอุตสหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • อังกาบ บุญสูง
  • เรือนขวัญ หรุ่นเริงใจ
  • เทียนชัย หรรรุ่งโรจน์

คำสำคัญ:

การพัฒนา, เฟอร์นิเจอร์, พาเลทไม้

บทคัดย่อ

การพัฒนาเฟอร์นิเจอร์จากพาเลทไม้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเฟอร์นิเจอร์จากพาเลทไม้เหลือทิ้งและเพื่อศึกษาระดับประเมินความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อการออกแบบเฟอร์นิเจอร์หลังการออกแบบ การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือส่วนแรกศึกษาข้อมูลพาเลทไม้ โดยใช้หลักการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ เน้นเรื่องความปลอดภัยเป็นหลัก จากนั้นระดมร่างแนวคิดจากพาเลทไม้ สรุปความคิดรวบยอด และปรับรูปแบบสำหรับการผลิตเฟอร์นิเจอร์ ส่วนที่ สองทำการศึกษาระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อเฟอร์นิเจอร์หลังการพัฒนา ผลของการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 132คน เป็นผู้ชาย ร้อยละ 57.60 หญิง ร้อยละ42.4ตามลำดับ ความพึงพอใจของผู้บริโภคส่วนใหญ่อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก (=3.95,S.D.=0.31) ส่วน รายการที่มากที่สุดคือ ความปลอดภัยขณะนั่ง (=3.95, S.D.=0.82) และสุดท้ายคือรายการ ความสวยงามของเฟอร์นิเจอร์ อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก (=3.67, S.D.= 1.08) ตามลำดับ

 

References

ณัฐธิดา จงรักษ์, พนา ใจหลวง และพีระพล นวลเปรม. 2562. การออกแบบฉากกั้นพื้นที่
จากวัสดุไม้ยางพาราสําหรับตกแต่งบ้านสไตล์โมเดิร์น. วารสารวิชาการเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมและวิศวกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 1(2), 102-112
ประยูร อาษานาม. (2544). คู่มือวิจัยทางการศึกษา. ขอนแก่น : ภาควิชาการบริหารการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
รัฐไท พรเจริญ. (2558). การเขียนงานวิจัยทางการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ :
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
เอกชัยค้าไม้. (2554). พาเลทไม้. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2563,
จาก https://www.พาเลทพาเลทไม้.com
อุดมศักดิ์ สาริบุตร. (2550). การออกแบบเฟอร์นิเจอร์. กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-02

How to Cite

[1]
ปรารมภ์ ส., บุญสูง อ., หรุ่นเริงใจ เ. ., และ หรรรุ่งโรจน์ เ. ., “การพัฒนาเฟอร์นิเจอร์ จากพาเลทไม้”, PSRU JITE, ปี 2, ฉบับที่ 3 (2020), น. 54–64, ธ.ค. 2020.