การพัฒนาเครื่องอัดก้อนมะขามเปียกกึ่งอัตโนมัติสำหรับธุรกิจชุมชน

ผู้แต่ง

  • วิทยา หนูช่างสิงห์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
  • ธนภัทร มะณีแสง มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
  • มานะ อินพรมมี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

คำสำคัญ:

เครื่องอัดก้อนมะขามเปียกกึ่งอัตโนมัติ, มะขามเปรี้ยว, กระบวนการอัดก้อน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มุ่งพัฒนาเครื่องอัดก้อนมะขามเปียกกึ่งอัตโนมัติ เพื่อแก้ไขข้อจำกัดของกระบวนการอัดก้อนแบบเดิมที่ใช้แรงงานคน ซึ่งใช้เวลานาน (เฉลี่ย 55 วินาทีต่อชิ้น) และมะขามที่ได้มีรูปร่างไม่สม่ำเสมอ เครื่องอัดก้อนนี้ใช้ระบบนิวแมติกส์ ควบคุมการดันแผ่นเพลท 4 ทิศทางไปยังชิ้นงานเพื่อให้ได้รูปทรงที่ต้องการ จากการทดสอบพบว่าแรงดัน 600 kPa เหมาะสมที่สุด โดยสามารถอัดก้อนมะขามได้รวดเร็วเพียง 8 วินาทีต่อชิ้น เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน 5 เท่าเมื่อเทียบกับการใช้แรงงานคน และมีระยะเวลาคืนทุน 1 เดือน 1 วัน เท่านั้น ส่วนผลลัพธ์จากการประเมินความพึงพอใจโดยผู้ใช้งานพบว่าผลการประเมินในทุกๆ ด้านอยู่ในระดับดี จึงสามารถสรุปได้ว่าเครื่องอัดก้อนมะขามสามารถนำมาใช้ทดแทนวิธีการทำงานแบบเดิมในธุรกิจระดับชุมชนได้ และผลลัพธ์จากงานวิจัยนี้ไม่เพียงแต่จัดการกับความไร้ประสิทธิภาพในกระบวนการอัดก้อนมะขามแบบดั้งเดิมเท่านั้น แต่ยังแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการบูรณาการระบบนิวแมติกส์กับในการช่วยความเร็วและมาตรฐานในกระบวนการการอัดก้อนมะขาม

References

เจนจิรา อยู่พะเนียด. (2563). ผลิตภัณฑ์กะปิอัดก้อนทางเลือกใหม่ของผู้บริโภค. วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ, 11-13.

ชโลธร ศักดิ์มาศ, เศรษฐวัฒน์ ถนิมกาญจน์ และนศพร ธรรมโชติ. (2553). การออกแบบและสร้างเครื่องอัดก้อนข้าวยำ. (รายงานผลการวิจัย). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, สงขลา.

ชีวจิต. (2561). มะขามเปียก วัตถุดิบเครื่องปรุงรสเปรี้ยวอาหารไทย. ค้นจากhttps://goodlifeupdate.com/healthy-food/77020.html

เดชฤทธิ์ มณีธรรม. (2553). คัมภีร์ระบบนิวแมติกส์ . กรุงเทพมหานคร: เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์.

ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย, ทิพพร คำแดง, จิระพล กลิ่นบุญ และนำพร ปัญโญใหญ่. (2565). การประเมินประสิทธิภาพเครื่องอัดลูกอมขิง. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร เป็นวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 16(1), 95-104.

นันท์ปภัทร์ ทองคำ, วัฒนี บุญวิทยา, ภาสุรี ฤทธิเลิศ, หรรษา เวียงวะลัย, อัณนภา สุขลิ้ม, นิศารัตน์ ตามสมัคร และ ปริชาต โคตะมะ (2565). การผลิตปลาร้ามอญสับอัดก้อนกึ่งสำเร็จรูปจากปลาร้ามอญภูมิปัญญาของชาวมอญ บ้านศาลาแดงเหนือ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี. วารสารเกษตรและอาหาร มรวอ., 1(1), 32-41.

บุญธรรม ภัทราจารุกุล. (2553). งานนิวแมติกส์ และไฮดรอลิกส์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น

ประเทือง อุษาบริสุทธิ์ และธารินี มหายศนันท์. (2548). การศึกษาการอัดแท่งถ่านเหง้ามันสำปะหลังโดยใช้เครื่องอัดถ่านแบบแม่แรงไฮโดรลิก. วิศวกรรมสาร มก., 19(56), 32-40.

ปวรุตม์ เปี่ยมแก้ว, อกนิษฐ์ ผดุงเรืองกิจ, กรณัฐ รัตนนท์, เมธา อึ่งทอง และอภิชาติ ศรีประดิษฐ (2565). การออกแบบและพัฒนาเครื่องบรรจุน้ำปลาร้ากึ่งอัตโนมัติ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี), 4(1), 25-43.

วศิน เสริมสุธีอนุวัฒน์. (2565). มูลค่าส่งออกมะขามเปียก. ค้นจาก https://sites.google.com/site/artistiara/makham/makham-phuch-sersthkic/mulk

ha -sng -xxk -makham -peiyk

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2565). วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรขี้นาคแผนใหม่ต้นแบบการรวมกลุ่มปลูกมะขามเปรี้ยวสร้างกำไรปีละ 32.2 ล้านบาท. ค้นจาก https://oae.go.th/view/1รายละเอียดข่าว/ข่าว%20สศก./38535/TH-TH.

อรุณ สุขแก้ว และวิมล บุญรอด. (2561). การออกแบบเครื่องบรรจุหนังปลากะพงปรุงรสโดยใช้ระบบนิวแมติกส์. วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 9(2), 49-60.

อรุณ สุขแกว, ธีรพงษ อยูสุข, ธีรวัฒน สุขลิ้ม และธรรมรัตน ไชยวิจิต. (2560). การออกแบบเครื่องเปิดปากถุงสําหรับบรรจุหนังปลากะพงปรุงรสโดยใชระบบนิวเมติกส. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55: สาขาวิทยาศาสตร์และพันธุวิศวกรรม, สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์, สาขาอุตสาหกรรมเกษตร, สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพ.

Hunt, D. (2001). Farm power and machinery (10th ed), Iowa: Iowa State University Digital Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-07

How to Cite

[1]
หนูช่างสิงห์ ว., มะณีแสง ธ., และ อินพรมมี ม., “การพัฒนาเครื่องอัดก้อนมะขามเปียกกึ่งอัตโนมัติสำหรับธุรกิจชุมชน”, PSRU JITE, ปี 6, ฉบับที่ 2, น. 165–180, ส.ค. 2024.