การใช้ถ่านแกลบและกากตะกอนหม้อกรองโรงงานน้ำตาลร่วมกับปุ๋ยมูลสัตว์ต่อการเจริญเติบโตและปริมาณคลอโรฟิลล์ของเมล่อน 4 พันธุ์ในโรงเรือน
คำสำคัญ:
ปุ๋ยมูลสัตว์, เมล่อน, การเจริญเติบโต, ถ่านแกลบ, กากตะกอนหม้อกรองบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ศึกษาการใช้ปุ๋ยมูลสัตว์ร่วมกับการใช้กากตะกอนหม้อกรองโรงงานน้ำตาลและถ่านแกลบในการเพาะปลูกเมล่อนในโรงเรือน ซึ่งเป็นวัสดุผลพลอยได้ทางการเกษตรจากโรงงานน้ำตาลในพื้นที่จังหวัดสระแก้วและโรงสีข้าวชุมชน การทดลองที่ 1 ใช้เมล่อนพันธุ์แค็ท 697 มี 5 ทรีตเมนต์ ประกอบด้วย 1) ปุ๋ยเคมี (ดิน:กากตะกอนหม้อกรอง:ถ่านแกลบ, 3:3:3) 2) ปุ๋ยมูลวัว (ดิน:กากตะกอนหม้อกรอง:ถ่านแกลบ:มูลวัว, 3:3:3:3) 3) ปุ๋ยมูลแกะ (ดิน:กากตะกอนหม้อกรอง:ถ่านแกลบ:มูลแกะ, 3:3:3:3) 4) ปุ๋ยมูลไก่ (ดิน:กากตะกอนหม้อกรอง:ถ่านแกลบ:มูลไก่, 3:3:3:3) 5) ปุ๋ยมูลไส้เดือน (ดิน:กากตะกอนหม้อกรอง:ถ่านแกลบ:มูลไส้เดือน, 3:3:3:1) การทดลองที่ 2 ใช้เมล่อนพันธุ์แค็ท 697 ปริ้นเซส รักบี้บอล และธันเดอร์โกลด์ มี 4 ทรีตเมนต์ ประกอบด้วย ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยมูลวัว ปุ๋ยมูลแกะ และปุ๋ยมูลไก่ ผลการศึกษา พบว่า การเจริญเติบโตของต้นเมล่อนพันธุ์แค็ท 697 ที่ได้รับปุ๋ยมูลสัตว์มีค่าไม่แตกต่างจากปุ๋ยเคมียกเว้นปุ๋ยมูลไส้เดือน และเมล่อนที่มีพันธุกรรมแตกต่างกันมีการตอบสนองต่อวัสดุปลูกปุ๋ยมูลสัตว์แตกต่างกันในลักษณะการเจริญเติบโต จากผลการศึกษา พบว่า การใช้กากตะกอนหม้อกรองโรงงานน้ำตาลและถ่านแกลบร่วมกับปุ๋ยมูลสัตว์เป็นอีกแนวทางหนึ่งในการเตรียมวัสดุปลูกเมล่อนในโรงเรือนได้
References
กนกภรณ์ ดอนเจดีย์, คณิตา ตังคณานุรักษ์ และนิพนธ์ ตังคณานุรักษ์. (2562). การใช้ประโยชน์น้ำเสียและกากตะกอนหม้อกรองจากโรงงานน้ำตาลในการปลูกข้าวโพดหวาน. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 37(2): 284-292.
ทัศนีย์ อัตตะนันทน์. (2551). ใช้ถ่านแกลบปรับปรุงดินในยุคปุ๋ยแพงช่วยลดโลกร้อน เทคโนโลยีจากญี่ปุ่น. เคหการเกษตร, 32(4): 222-225.
ธยานี แน่นอน, ฐิติรัตน์ เพ็งสม และนิตยา ผกามาศ. (2560). อิทธิพลของปุ๋ยไนโตรเจนต่อความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณคลอโรฟิลล์และผลผลิตของหญ้ากินนีมอมบาซา. แก่นเกษตร, (ฉบับพิเศษ 1): 1009-1015.
พิมพรรณ พิมลรัตน์, สุวนันท์ จันทิมา, พิมพ์รพัฒน์ สินธุภูมิ, ศิริวรรณ ธรรมวงศ์ และดาวรุ่ง วัชรินทร์รัตน์. (2564). การเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพของเมล่อน 4 สายพันธุ์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบันครั้งที่ 8 (น. 582-588) ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ระบบสารสนเทศการผลิตทางด้านการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร. (2563). เมล่อนญี่ปุ่น. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2564, จาก https://production.doae.go.th
รินทร์ชนิศ กุลพรพิพัชญ์. (2558). การใช้ประโยชน์ปุ๋ยมูลไส้เดือนในการปรับปรุงดินสำหรับการปลูกผักคะน้า. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วีณา นิลวงศ์. (2561). ศึกษาการปลดปล่อยไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์ต่อพืชในดินที่มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 36(3): 178-188.
สุภาณี ชนะวีรวรรณ และสายัณห์ สดุดี. (2545). การใช้เครื่องมือ SPAD-502 เพื่อประเมินปริมาณคลอโรฟิลล์รวมและไนโตรเจนในใบของลองกองและเงาะ. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 24(1): 9-14.
อรรถชัย มูลพงษ์ และพิษณุ แก้วตะพาน. (2564). ผลของถ่านชีวภาพในวัสดุเพาะปลูกต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้าเมล่อน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบันครั้งที่ 8 (น. 294-300) ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ออลล์เกษตร. (2564). เมล่อน. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2564, จาก https://www.allkaset.com/plant/เมล่อน.php
เอกรินทร์ สารีพัว, ปริญดา แข็งขัน และอรวรรณ รักสงฆ์. (2561). ศักยภาพของแหล่งธาตุอาหารจากปุ๋ยคอกแต่ละชนิดต่อการผลิตเมล่อนอินทรีย์. (รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์).
Castaldo, J.H., Nolla, A., Tinos, A.C., Damy, C.R.S., Sorace, M., & Martins, A.P.C. (2017). Filter cake enhances soil fertility and initial growth of wheat cultivated in a sandy Ultisol. Revista de Ciências Agrárias - Amazonian Journal of Agricultural and Environmental Sciences, 60(2): 166-172.
Handajaningsih, M., Hasanudin, Saputra, H.E., Marwanto, & Yuningtyas, A.P. (2019). Modification of growing medium for container melon (Cucumis melo L.) production using goat manure and dolomite. International Journal on Advanced Science Engineering Information Technology, 9(2): 441-447.
Kumar, S., Kaur, R., Kaur, N., Bhandhari, K., Kaushal, N., Gupta, K., Bains, T.S., & Nayyar, H. (2011). Heat-stress induced inhibition in growth and chlorosis in mungbean (Phaseolus aureus Roxb.) is partly mitigated by ascorbic acid application and is related to reduction in oxidative stress. Acta Physiology Plant, 33: 2091-2101.
Lentz, R.D., & Ippoloto, J.A. (2011). Biochar and Manure affect calcareous soil and corn silage nutrient concentrations and uptake. Journal of Environmental Quality, 41: 1033-1043.
R Core Team. (2019). R: A language and environment for statistical computing. R Foundation for Statistical Computing. Retrieved from http://www.R-project.org/
Srisaikham, S., & Rupitak, Q. 2020. Growth of Caesalpinia sappan L. by using different growing media and evaluation of antioxidant activity of foliage. Science Technology and Engineering Journal, 6(2): 50-61.
Wassie, M., Zhang, W., Zhang, Q., Ji, K., & Chen, L. (2019). Effect of heat stress on growth and physiological traits of alfalfa (Medicago sativa L.) and a comprehensive evaluation for heat tolerance. Agronomy, 9: 597.
Yang, C., Du, W., Zhang, L., & Dong, Z. (2021). Effects of sheep manure combined with chemical fertilizers on maize yield and quality and spatial and temporal distribution of soil inorganic nitrogen. Complexity, Volume 2021, Article ID 4330666.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ก่อนเท่านั้น