การสำรวจความหลากหลายของเห็ดในพื้นที่ป่ามหาวิทยาลัยพะเยา

ผู้แต่ง

  • อรัณย์ภัค พิทักษ์พงษ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

คำสำคัญ:

เห็ด, สำรวจ, ป่าเต็งรัง, พะเยา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาความหลากหลายของชนิดเห็ดในพื้นที่ป่าเต็งรัง มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยทำการศึกษารูปพรรณสัณฐานภายนอกและคุณสมบัติเฉพาะโครงสร้างของเห็ดและจำแนกชนิดของเห็ดกินได้และกินไม่ได้ เพื่อเป็นความรู้แก่ชุมชนและบุคคลทั่วไปที่อยู่บริเวณมหาวิทยาลัยพะเยา จากการศึกษาในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 พบว่า มีเห็ดทั้งสิ้น 17 วงศ์ 41 ชนิด จำแนกเป็นเห็ดกินได้ 28 ชนิด เห็ดกินไม่ได้ 6 ชนิด และไม่พบข้อมูล 7 ชนิด ดังนั้น พื้นที่ป่าเต็งรังที่ทำการศึกษามีความอุดมสมบูรณ์มากพอสมควร อีกทั้งเห็ดป่าหลายชนิดที่พบยังเป็นประโยชน์ต่อชาวบ้านที่อาศัยรอบพื้นที่มหาวิทยาลัยในการนำมารับประทานเป็นอาหาร และจำหน่ายเพื่อก่อรายได้

 

References

ธารรัตน์ แก้วกระจ่าง. 2562. เห็ดกินได้ในป่าธรรมชาติ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www3.rdi.ku.ac.th/

?p=49445 (29 เมษายน 2562)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2554. หนังสือเรียนชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

ศูนย์วิจัยและประเมินความเสี่ยงด้านอาหารปลอดภัย สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม. 2558. เรื่องจุลินทรีย์(เห็ด). กรุงเทพฯ. อักษรสยามการพิมพ์.

รักฤดี สาธิมา. 2555. เห็ด: อาหารอันโอชะและโอสถอันวิเศษ. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. ปีที่ 40 ฉบับที่ 1. 24 – 33 ราชบัณฑิตยสถาน. 2550. เห็ดในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

อุทัยวรรณ แสงวณิช. 2550. การศึกษาเห็ดในธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ณัฐภูมิ สุดแก้ว. 2552. การเพาะเห็ดสวนครัว (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: เกษตรธรรมชาติ.

ธวัชชัย สันติสุข และ ชวลิต นิยมธรรม. 2528. ป่าเต็งรังในประเทศไทยกับผลกระทบจากการพัฒนาที่ดิน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อนงค์ จันทร์ศรีกลุ พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์ และอุทัยวรรณ แสงวณิช. 2551. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

กิตติมา ด้วงแค วินนท์ดา หิมะมาน จันจิรา อายะวงศ์ กฤษณา พงษ์พานิช และจิรพรรณ โสภี. 2550. ความหลากหลาย

ของเห็ดราไมคอร์ไรซาในระบบนิเวศป่าไม้ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว. กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กรุงเทพฯ.

ภัทธรวีร์ พรมนัส วินัย สมประสงค์ และมงคล ธรรมขจรเดช. 2557. ความหลากหลายทางขนิดพันธุ์ของเห็ดกินได้ในสถานีวนวัฒนวิจัยแม่สะนาม อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.mcc.cmu.ac.th/Seminar/pdf/p255709042.pdf (29 เมษายน 2562)

กชกร ลาภมาก และคชรัตน์ ภูฆัง. 2560. ความหลากหลายของเห็ดราขนาดใหญ่ในอุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน จังหวัดอุตรดิตถ์. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://esar.uru.ac.th/user/doc/882_gyEpHD6bUo.pdf (30 เมษายน 2562)

หนูเดือน เมืองแสน. 2556. ความหลากหลายของไลเคน เห็ด และราขนาดใหญ่ในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช อพ.สธ. เขื่อนน้ำพุง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มาfile:///C:/Users/Asus/Downloads/SUT1-104-55-12-20-ft.pdf (30 เมษายน 2562)

สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช. คู่มือการสำรวจความหลากหลายเห็ด. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://chm.dnp.go.th/wp-content/uploads/bookdownload/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%

B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B9%87%E0%B8%94.pdf (30 เมษายน 2562)

ชฎากัลป์ ชื่นชอบ ศรีนวล ตันสุวรรณ และชมัยพร เจริญพร. 2560. ความหลากหลายของเห็ดป่าและราขนาดใหญ่ บริเวณป่านันทวัน บ้านมะค่า ตำบลโพนทอง อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา. วารสารเกษตรพระจอม, 35 (1): 25-34.

วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก รัตติยา แสนเมืองมา และมนัส ทิตย์วรรณ. 2559. นิเวศวิทยา และการกระจายพันธุ์ของเห็ดเผาะในพื้นที่อนุรักษ์พันธุธรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://ag2kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename

=P096%20Pat132.pdf&id=2476&keeptrack=3 (30 เมษายน 2562)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-29