การประยุกต์ใช้สื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนเพื่อการแนะนำ บริษัท ยูซีไอ มีเดีย จำกัด ในรูปแบบภาพกราฟิก 3 มิติ
คำสำคัญ:
Virtual Reality, 3D Graphics, UCI Media Co., Ltd.บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสื่อโดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนในการแนะนำบริษัท ยูซีไอ มีเดีย จำกัด และ 2) ประเมินคุณภาพของสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน โดยผู้วิจัยได้ใช้หลักการ IMSDD Model โดยมีวิธีการดำเนินการวิจัย คือ ขั้นตอนการศึกษาความต้องการในระบบ (System Requirements) ขั้นตอนการออกแบบ (Design) ขั้นตอนการสร้างและติดตั้งระบบ (Implementation) และขั้นตอนการประเมินผล (Evaluation)
จากผลการวิจัยพบว่า 1) ได้สื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนเพื่อการแนะนำบริษัท ยูซีไอ มีเดีย จำกัด ที่มีการแสดงผลและการทำงานที่ถูกต้อง 2) ผลจากการประเมินคุณภาพของสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านกราฟิกพบว่ามีคุณภาพของสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน มีคุณภาพอยู่ในระดับดี ( = 4.41)
References
จักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี และพรรณธิภา เพชรบุญมี. (2564). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงในการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ผ้าทอใยกัญชงของวิสาหกิจชุมชน ตำบลคีรีราษฎร์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.สุวรรณภูมิ, 5(พิเศษ), 44-54.
ชเนศ รัตนอุบล. (2561). การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแนะนำพื้นที่ให้กับผู้เข้ามาติดต่อหน่วยงานราชการด้วยเทคโนโลยีเสมือนผ่านโมบาย กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์. ใน รายงานผลการวิจัย. นครปฐม: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.
ณัฐวดี หงส์บุญมี และวิทยา งามโปร่ง. (2562). แอปพลิเคชันความเป็นจริงเสมือนสำหรับเพิ่มประสบการณ์การท่องโลกนิทานพื้นบ้านเรื่องไกรทองบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์. Walailak Procedia, 2019(3), 53-53.
ณัฐพงษ์ พระลับรักษา. (2561). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียในรูปแบบเทคโนโลยีเสมือนจริง (VR) เพื่อการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดมหาสารคาม. ใน รายงานผลการวิจัย. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ทรงสิริ วิชิรานนท์, รุ่งอรุณ พรเจริญ, สุนารี จุลพันธ์ และฉันทนา ปาปัดถา. (2562). การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีเสมือนจริงส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีชุมชนคูบัว จังหวัดราชบุรี. ใน รายงานสืบเนื่องงานประชุมวิชาการระดับชาติด้านการท่องเที่ยวกับมนุษยศาสตร์ ครั้งที่ 1, 19-20 ธันวาคม 2562. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ภาณุวัฒน์ เรืองกุลทรัพย์. (2562). แบบจำลองการจัดการคลังสินค้าด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนบนพื้นฐานทฤษฎี ABC. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2(2), 13-17.
ภูวดล บัวบางพลู, เจนจบ สุขแสงประสิทธิ์, รัฐสิทธิ์ เสริมสัย, สุรัตน์ จานทอง, และนพเดช อยู่พร้อม. (2561). การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีความจริงเสมือนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว วังสวนบ้านแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. ใน รายงานผลการวิจัย. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
มัติกร บุญคง. (2563). AR & VR เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารการตลาดในยุคฐานวิถีชีวิตใหม่. สารรังสิตออนไลน์. ค้นจากhttps://www2.rsu.ac.th/sarnrangsit-online-detail/CommArts-Article20
สายฝน สิยาห์. (2562). บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ส่งเสริมการเรียนรู้. วารสารมนุษยสังคมปริทัศน์, 21(2), 248-275.
Best W. John. (1998). Research in Education. Boston MA.: Allyn and Bacon.
Dastbaz, M. (2003). Designing Interactive Multimedia System. International Edition. Mcgraw-Hill.
Harkema, G. J., and Rosendaal, A. (2020). From cinematograph to 3D model: how can virtual reality support film education hands-on?. Early Popular Visual Culture, 18(1), 70-81.
Mahn, C. (2014). The virtual tourist gaze in Greece, 1897–1905. Annals of Tourism Research, 48, 193-206.
Sutherland, J., Belec, J., Sheikh, A., Chepelev, L., Althobaity, W., Chow, B. J., and La Russa, D. J. (2019). Applying modern virtual and augmented reality technologies to medical images and models. Journal of digital imaging, 32(1), 38-53.
Yung, R., Khoo-Lattimore, C., and Potter, L. E. (2021). Virtual reality and tourism marketing: conceptualizing a framework on presence, emotion, and intention. Current Issues in Tourism, 24(11), 1505-1525.
Yeung, A. W. K., Tosevska, A., Klager, E., Eibensteiner, F., Laxar, D., Stoyanov, J., and Willschke, H. (2021). Virtual and augmented reality applications in medicine: analysis of the scientific literature. Journal of medical internet research, 23(2), e25499.
Zulherman, Z., Amirulloh, G., Purnomo, A., Aji, G. B., and Supriansyah, S. (2021). Development of android-based millealab virtual reality media in natural science learning. Jurnal Pendidikan Sains Indonesia, 9(1), 1-10.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 Loei Rajabhat University
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์