ผลของความเครียดจากออกซิเดชันต่อปริมาณคลอโรฟิลล์และสารประกอบฟีนอลิก ของสาหร่ายสีเขียวคลาโดฟลอรา

ผู้แต่ง

  • บงกช บุญบูรพงศ์ -
  • สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ
  • ปิยะวดี ไกรกิจราษฎร์
  • รินทร์ลิตา รัตนาธานีพัฒน์
  • ทรงกลด ใบยา
  • อาภรณ์ บัวหลวง

คำสำคัญ:

ความเครียดจากออกซิเดชัน, คลอโรฟิลล์, สารประกอบฟีนอลิก, คลาโดฟลอรา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของความเครียดจากออกซิเดชันต่อปริมาณคลอโรฟิลล์ และ สารประกอบฟีนอลิกของสาหร่ายสีเขียวคลาโดฟลอรา โดยนำสาหร่ายสีเขียวคลาโดฟลอราบ่มในภาวะที่มีความเครียดจากออกซิเดชันในสารละลายไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ เข้มข้น 0, 1, 10, 25, 50 และ 100 มิลลิโมลาร์ ตามลำดับ ทำการวัดปริมาณคลอโรฟิลล์และสารประกอบฟีนอลิกที่เวลา 0, 1, 2, 4, 6, 8, 10, 12 และ 24 ชั่วโมง ตามลำดับ พบว่า ความเข้มข้นของสารละลายไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ 100 มิลลิโมลาร์ ทำให้ปริมาณคลอโรฟิลล์ลดลงครึ่งหนึ่ง ที่ระยะเวลา 12 ชั่วโมง  และให้ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก เท่ากับ 255.63 mg/ml จากการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่าภายใต้ภาวะที่มีความเครียดจากออกซิเดชันสาหร่ายสีเขียวคลาโดฟลอราสามารถเจริญได้เนื่องจากมีการผลิตสารประกอบฟีนอลิกเพิ่มขึ้น  

References

จันทนา ไพรบูรณ์, และอนงค์ จีรภัทร. (2555). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากสาหร่ายทะเลบางชนิดในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ปริญญา มูลสิน, และอมรรัตน์ วงษ์กลม. (2556). การศึกษาผลของการใช้สารสกัดจากสาหร่ายเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง. อุบลราชธานี: สาขาวิชาชีววิทยา และสาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ยุวดี พีรพรพิศาล. (2558). สาหร่ายน้ำจืดในประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่ 3). เชียงใหม่: ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ยุวดี พีรพรพิศาล, ญานี พงษ์ไพบูลย์, ดวงตา กาญจนโพธิ์, ธวัช แต้โสตถิกุล, ดวงพร อมรเลิศพิศาล, และสุดาพร ตงศิริ. (2552). ศักยภาพของสาหร่ายน้ำจืดขนาดใหญ่ในการเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเวชสำอาง รายงานฉบับสมบูรณ์. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ยุวดี พีรพรพิศาล, ฐิติกานต์ ปัญโญใหญ่, และดวงพร อมรเลิศพิศาล. (2555). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและต้านการอักเสบของสาหร่ายเตา. วารสารวิทยาศาสตร ขอนแก่น, 40(1), 238-235.

รัตนาภรณ์ จันทร์ทิพย์, ฐิติพรรณ ฉิมสุข, อรุณี คงดี, และดวงพร อมรเลิศพิศาล. (2555). พฤกษเคมีและผลของตัวทำละลายต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิกของสาหร่ายเตา (Spirogyra sp.). ใน การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ครั้งที่ 3, หน้า 15-22). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วสันต์ สุมินทิลี่, ปนิดา บรรจงสินศิริ, จันทนา ไพรบูรณ์, และวรรณวิมล คล้ายประดิษฐ์. (2556). กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบจากสาหร่ายพวงองุ่น (Caulerpa lintillifera) สาหร่ายทุ่น (Sargassum oligocystum) และสาหร่ายเขากวาง (Gracilaria changii). วารสารเทคโนโลยีการอาหารมหาวิทยาลัยสยาม, 9(1), 63-75.

สุทธวรรณ สุพรรณ, พลอยไพลิน สดมณี, ปัทมาภรณ์ คุ้มกัน, ศราวุธ ราชลี, และประดับรัฐ ประจันเขตต์. (2564). ฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดหยาบจากสาหร่ายเตา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดร, 9(2), 49 – 67.

อาภรณ์ บัวหลวง, สมบัติ คงวิทยา, และสุรศักดิ์ ละลอกน้ำ. (2556). ประโยชน์ของสาหร่ายขนาดเล็ก. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 4(1), 72–79.

อนงนาฎ ไพนุพงศ์. (2560). อนุมูลอิสระและสารตานอนุมูลอิสระกับสุขภาพ. PKRU. SciTech J., 1(2), 20 – 27.

Hanaa H., El-Baky A., El-Baz F. K., and El-Baroty G. S. (2009). Production of phenolic compounds from Spirulina maxima microalgae and its protective effectsAfrican. Journal of Biotechnology, 8(24), 7059-7067.

Haq S. H., Al-Ruwaished G., Al-Mutlaq M. A., Naji S. A., Al-Mogren M., Al-Rashed S., Ain Q. T., Al-Amro A. A., and Al-Mussallam A. (2019). Antioxidant, Anticancer Activity and Phytochemical Analysis of Green Algae, Chaetomorpha Collected from the Arabian Gulf. Sci Rep. 9, 18906 (2019). Retrieved from https://doi.org/10.1038/s41598-019-55309-1 Retrieved from https://www.nature.com/articles/s41598-019-55309-1#citeas

Idaira J. M., Sara G. P., Gara R. M., Milagros R., Cristina A. O., and Juan L. G. P. (2017). Phenolic Profile and Antioxidant Activity of Crude Extracts from Microalgae and Cyanobacteria Strains. Journal of Food Quality. Retrieved from https://downloads.hindawi.com/journals/jfq/2017/2924508.pdf

Jebur A. B., Mokhamer, M. H., and Eldemerdash F. M. (2016). A Review on Oxidative Stress and Role of Antioxidants in Diabetes Mellitus. Austin Endocrinology and Diabetes Case, 1(1), 1-6.

Laloknam S., Kanchitanurak P., Boonburapong B., Rai V., and Kongvitthaya S. (2014). Inorganic and Organic Compounds of Freshwater Filamentous Cyanobacteria under Normal and Salt Stress Conditions. J. Chem. Chem. Eng, 8, 1059-1067.

Michalak I., and Messyasz B. (2021). Concise review of Cladophora spp.: macroalgae of commercial interest. J. Appl. Phycol, 33, 133–166.

Noori, S. (2012). An Overview of Oxidative Stress and Antioxidant Defensive System. Open Access Scientific Reports, 1(8), 2-9.

Nutautaite M., Vilien V., Raceviciut S. A., Bliznikas S., Karosiene J., and Koreivien J. (2021). Freshwater Cladophora glomerata Biomass as Promising Protein and Other Essential Nutrients Source for High Quality and More Sustainable Feed Production. Agriculture, 11, 582.

Phetprom, N., Charoenman, V., Boonburapong, B., Bualuang, A., and Laloknam. (2021). Cellulose extraction from cyanobacteria Nostoc sp. for alternative energy source. Prawarun Agricultural Journal, 18(2),

–32.

Sitthiwong N. (2019). Pigment and nutritional value of Spirogyra spp. in Sakon Nakhon, Nakhon Phanom and Mukdahan provinces. Science and Technology RMUTT Journal, 9(1), 10-21.

Wellburn A. R. (1994). The spectral determination of chlorophylls a & b, as well as total carotenoids, using various solvents with spectrophotometers of different resolution. Journal of plant physiology, 144(3), 307–313

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27