การศึกษาผลกระทบของแบบทดสอบที่มีตัวลวงสร้างจากความเข้าใจคลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบต่อนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่เกิดจากการใช้ข้อสอบที่มีตัวลวงที่สร้างจากความเข้าใจคลาดเคลื่อน โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แผนการเรียนทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนศีขรภูมิพิสัย ที่สมัครใจที่เข้าร่วมการสอบครั้งนี้จำนวน 274 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) คะแนนข้อสอบปรนัยของนักเรียนที่ทดสอบด้วยข้อสอบปกติ สูงกว่านักเรียนที่ทดสอบด้วยข้อสอบแบบลวงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05, 2) คะแนนข้อสอบอัตนัยของนักเรียนที่ทดสอบด้วยข้อสอบปกติ สูงกว่านักเรียนที่ทดสอบด้วยข้อสอบแบบลวงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Article Details
How to Cite
Ngao-Ngam, P., Kaewkhao, A., & Intep, S. (2019). การศึกษาผลกระทบของแบบทดสอบที่มีตัวลวงสร้างจากความเข้าใจคลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารคณิตศาสตร์ โดยสมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 64(697), 44–60. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/MJMATh/article/view/180311
บท
Research Article
References
[1] ชานนท์ จันทรา. (2553). ขั้นตอนวิธีการพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์สำหรับครู, กทม: บริษัท อาร์
แอนด์เอ็น ปริ้นท์ จำกัด.
.Juntra, Ch. (2010). Algorithms in mathematics proofs for teachers, Bangkok:
R&N Print Company Limited.
[2] ศรีวิชัย กาญจนาวสี. (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม, กทม: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
Kanchanawasee, S. (2013). Classical Test theory, Bangkok: Chulalongkorn
University Printing house.
[3] รณิดา เชยชุม. (2552). “การเปรียบเทียบคุณภาพของข้อสอบและแบบสอบหลาย
ตัวเลือกที่มีรูปแบบตัวเลือกต่างกัน”, ปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต,สาขาการวัดและประเมินผล
การศึกษา, คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Chaechum, R. (2009). The comparison of qualities of multiple-choice items and
tests with different types of choice, Degree of Doctor of philosophy, program in
Educational Measurement and Evaluation, Faculty of Education, Chulalongkorn
University.
[4] สมนึก ภัททิยธนี. (2553). การวัดผลการศึกษา, มหาสารคาม: ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Phattiyathani, S. (2010). Educational Measurement, Mahasarakham: Department
of Educational Research and Development Faculty of Education Mahasarakham
University.
[5] สมชาย วรกิจเกษมสกุลม. (2554). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์,
อุดรธานี: อักษรศิลป์การพิมพ์.
Worakitkasemsakun, S. (2011). Research methodology in behavioral sciences and
social sciences, Udon Thani: Aksorn Sil Printing.
[6] ไพศาล วรคํา. (2019). การวิจัยทางการศึกษา, มหาสารคาม: ตักสิลาการพิมพ์.
Worakham, P. (2019). Educational Research, Mahasarakham: TugaSila
Printing.
[7] ทิศนา แขมมณี. (2558). ศาสตร์การสอน, กทม: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Khaemmanee, T. (2013) Science of Teaching , Bangkok: Chulalongkorn
University printing house.
แอนด์เอ็น ปริ้นท์ จำกัด.
.Juntra, Ch. (2010). Algorithms in mathematics proofs for teachers, Bangkok:
R&N Print Company Limited.
[2] ศรีวิชัย กาญจนาวสี. (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม, กทม: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
Kanchanawasee, S. (2013). Classical Test theory, Bangkok: Chulalongkorn
University Printing house.
[3] รณิดา เชยชุม. (2552). “การเปรียบเทียบคุณภาพของข้อสอบและแบบสอบหลาย
ตัวเลือกที่มีรูปแบบตัวเลือกต่างกัน”, ปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต,สาขาการวัดและประเมินผล
การศึกษา, คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Chaechum, R. (2009). The comparison of qualities of multiple-choice items and
tests with different types of choice, Degree of Doctor of philosophy, program in
Educational Measurement and Evaluation, Faculty of Education, Chulalongkorn
University.
[4] สมนึก ภัททิยธนี. (2553). การวัดผลการศึกษา, มหาสารคาม: ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Phattiyathani, S. (2010). Educational Measurement, Mahasarakham: Department
of Educational Research and Development Faculty of Education Mahasarakham
University.
[5] สมชาย วรกิจเกษมสกุลม. (2554). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์,
อุดรธานี: อักษรศิลป์การพิมพ์.
Worakitkasemsakun, S. (2011). Research methodology in behavioral sciences and
social sciences, Udon Thani: Aksorn Sil Printing.
[6] ไพศาล วรคํา. (2019). การวิจัยทางการศึกษา, มหาสารคาม: ตักสิลาการพิมพ์.
Worakham, P. (2019). Educational Research, Mahasarakham: TugaSila
Printing.
[7] ทิศนา แขมมณี. (2558). ศาสตร์การสอน, กทม: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Khaemmanee, T. (2013) Science of Teaching , Bangkok: Chulalongkorn
University printing house.