การสำรวจกล้วยไม้ป่าในป่าชุมชน จังหวัดมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • วรชาติ โตแก้ว คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • ณภาภัช ไชยน้ำอ้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
  • วีรนุช วอนเก่าน้อย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

กล้วยไม้ดิน, วงศ์กล้วยไม้, ป่าชุมชน

บทคัดย่อ

สำรวจกล้วยไม้ป่าในป่าโคกข่าว ป่าโคกหินลาด และป่าหนองคู-ป่านาดูน โดยวิธีกำหนดเส้นทาง (line transect) 5 แนวสำรวจ แต่ละแนวสำรวจมีระยะทาง 1 กิโลเมตร ดำเนินการศึกษาในระหว่าง พ.ศ. 2557 – พ.ศ. 2560 พบกล้วยไม้ดินจำนวน 5 สกุล 8 ชนิด ได้แก่ Eulophia andamanensis Rchb.f. (หมูกลิ้ง) E. macrobulbon (C.S.P. Parish & Rchb.f.) Hook.f. (ว่านอึ่ง) Geodorum siamense Rolfe ex Downie (ว่านจูงนาง) Habenaria dentata (Sw.) Schilr. (นางอั้วน้อย) H. lucida Wall. ex Lindl. (คูลู) H. rostrata Wall. ex Lindl. (อั้วแก้มช้ำ) Liparis sutepensis Rolfe ex Downie (เอื้องมรกต) และ Vanilla aphylla Blume (เถางูเขียว)

References

เทียมหทัย ชูพันธ์. (2559). ความหลากหลายของพรรณพืชในป่าชุมชนเพื่อการอนุรักษ์ เทศบาลตำบลเมืองใหม่โคกกรวด

อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารพฤกษศาสตรไทย, 8(2): 201-218.

นพรัตน์ ทูลมาลย์ สมราน สุดดี และ สราวุธ สังข์แก้ว. (2556). ความหลากหลายของพืชวงศกลวยไมในเขตอุทยานแหงชาติ

แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี. วารสารพฤกษศาสตรไทย, 5(1): 35-51.

วรชาติ โตแก้ว. (2558). การสำรวจความหลากชนิดของพืชในพื้นที่ป่าชุมชนตำบลดงยาง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม.

ใน: รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 4. 29-30 มกราคม 2558. หอประชุมพญางำเมือง

มหาวิทยาลัยพะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา. หน้า 131-141.

วรชาติ โตแก้ว. (2556). ความหลากชนิดของกล้วยไม้พื้นเมืองในป่าชุมชน 7 หมู่บ้านของจังหวัดเชียงราย. รายงานการประชุม

วิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ การพัฒนาชนบทที่ยั่งยืน ประจำปี 2556 ครั้งที่ 3. 9-10 พฤษภาคม 2556.

ณ เซ็นทารา โฮเต็ล แอนด์ คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ จังหวัดขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. หน้า 684-687.

วรชาติ โตแก้ว และนวพรรษ ทวีบท. (2561). ความหลากชนิดของพืชมีท่อลำเลียงในป่าชุมชนบ้านหินฮาว อำเภอบ้านฝาง

จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 37(2): 202-217.

วรชาติ โตแก้ว ปิยะ โมคมุล ถวิล แสนตรง วีรนุช วอนเก่าน้อย และกรรณิการ์ ทองดอนเปรียง. (2556). ความหลากชนิดของ

พรรณไม้ เห็ด และการใช้ประโยชน์ป่าชุมชนบ้านโพนทอง จังหวัดมหาสารคาม. วารสารพฤกษศาสตร์ไทย, 5(2): 83-98.

วรชาติ โตแก้ว ประนอม จันทรโณทัย และ อัจฉรา ธรรมถาวร. (2551). การสำรวจเบื้องต้นของพืชวงศ์กล้วยไม้ในอุทยาน

แห่งชาติภูเรือ จังหวัดเลย. วิทยาศาสตร์ มข., 36(3): 197-205.

วรชาติ โตแก้ว และประนอม จันทรโณทัย. (2552). ความหลากหลายของของพืชวงศ์กล้วยไม้ในอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว

จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารพฤกษศาสตร์ไทย, 1(1): 49-59.

วรชาติ โตแก้ว วีรนุช วอนเก่าน้อย และณภาภัช ไชยน้ำอ้อม. (2555). ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์จากพืชในป่า

ชุมชนดอนชาด อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. รายงานการประชุมวิชาการการวิทยาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 4.

-13 มีนาคม 2555. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยนเรศวร. หน้า 271-275.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมป่าไม้. (2563). ข้อมูลสารสนเทศป่าไม้. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2564,

จาก URL: http://forestinfo.forest.go.th/National_Forest.aspx.

สลิล สิทธิสัจธรรม. (2549). กล้วยไม้ป่าเมืองไทย พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บ้านและสวน.

สำนักจัดการป่าชุมชน กรมป่าไม้. (2557). ป่าชุมชน รูปแบบการบริหารจัดการป่าอย่างยั่งยืน พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:

สำนักจัดการป่าชุมชน กรมป่าไม้.

อนุพันธ์ กงบังเกิด สานิตย์ ศรีเริญ และธนากร วงษ์ศา. (2550). ความหลากหลายของกล้วยไม้บริเวณป่าชมชนหมู่บ้านมณีพฤกษ์ ตําบลงอบ อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน. NU Science Journal, 4(2): 177-187.

อ้อพร เผือกคล้าย ฉัตรชัย เงินแสงสรวย และสมราน สุดดี. (2554). ความหลากหลายของกล้วยไม้ในอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง.

วารสารพฤกษศาสตรไทย, 3(2): 147-161.

Pedersen, HÆ., Kurzweil, H., Suddee S. and Cribb, PJ. (2011). Orchidaceae In: Flora of Thailand, Vol.12,

part 1, T. Santisuk and K. Larsen (Eds.), pp. 1-302, Bangkok, Thailand: The Forest Herbarium,

Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation.

Pooma, R., Suddee, S., Chamchumroon, V., Koonkhunthod, N., Phattarahirankanok, K., Sirimongkol S. and

Poopath, M. (2005). A preliminary checklist of threatened plants in Thailand. Thailand:

The Agricultural Cooperate Federation of Thailand, Ltd.

Seidenfaden, G. (1976). Orchid genera in Thailand 4 Liparis A.C. Rich. Densk Botanisk Arkiv 31(1): 1-105.

Seidenfaden, G. (1977). Orchid genera in Thailand 5 Orchidoideae. Densk Botanisk Arkiv 31(2): 1-149.

Seidenfaden, G. (1978). Orchid genera in Thailand 6 Neottioideae.. Densk Botanisk Arkiv 32(2): 1-195.

Seidenfaden, G. (1986). Orchid genera in Thailand 13, Thirty-three epidendroid genera. Opera Botanica 89.

Seidenfaden, G. (1988). Orchid genera in Thailand 14, Fifty-nine vandoid genera. Opera Botanica 95.

Stewart, J. and Griffiths, M. (1995). Manual of orchids. U.S.A.: Timber Press.

Thaitong, O. (1999). Orchid of Thailand. Thailand: Integrated Promotion Technology Co., Ltd.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-10

How to Cite

โตแก้ว ว., ไชยน้ำอ้อม ณ. ., & วอนเก่าน้อย ว. (2021). การสำรวจกล้วยไม้ป่าในป่าชุมชน จังหวัดมหาสารคาม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2(1), 41–46. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/ScienceRERU/article/view/243436