การหาปัจจัยที่เหมาะสมของเตาอบความร้อนต้นทุนต่ำสำหรับการอบเป็ด โดยวิธีแฟรคชั่นนอลแฟคทอเรียลดีไซน์
คำสำคัญ:
Design of Experiments, Heating Oven, Sensory Quality, Fractional Factorial Designบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นการออกแบบการทดลองเตาอบความร้อนต้นทุนต่ำสำหรับการอบเป็ด โดยการวางแผนการทดลองแบบแฟรคชั่นนอล แฟคทอเรียล ดีไซน์ โดยใช้ปัจจัยอุณหภูมิและเวลาในการอบ เพื่อเป็นต้นแบบให้กับผู้ประกอบการด้านอาหารรายย่อยที่ต้องการใช้เพื่อประกอบอาหารเป็ดย่าง จากการทดสอบประสิทธิภาพการทำงานของเตาอบ พบว่าเตาอบสามารถตั้งค่าอุณหภูมิและเวลาในการอบได้ ทดสอบด้วยการตั้งค่าอุณหภูมิไว้ที่ 110, 150, 210 และ 250 °C เป็นเวลาที่ 15, 20, 25 และ 30 นาที ตามลำดับ พบว่ามีการแกว่งของอุณหภูมิจากค่าที่ตั้งไว้มากกว่าค่าที่ตั้งไว้สูงสุด +7 °C น้อยกว่า ค่าที่ตั้งไว้ต่ำสุด -5 °C และได้ทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัสของเป็ดอบต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็ดอบด้วยวิธี 9– point–Hedonic scale ชนิด 9 ระดับ ใช้ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารทดสอบจำนวน 7 คน พบว่าคุณภาพทางประสาทสัมผัสของเป็ดอบสูงสุดอยู่ที่ 8.11 อุณหภูมิอบช่วงที่ 1 ให้มีค่าระดับต่ำคือ 110 ºC เวลาอบช่วงที่ 1 ให้มีค่าระดับสูงคือ 60 นาที อุณหภูมิอบช่วงที่ 2 ให้มีค่าระดับต่ำคือ 210 ºC และเวลาอบช่วงที่ 2 มีค่าที่ระดับต่ำคือ 45 นาที
References
Bangkok Ranch Public Company Limited. (2012) Research and development. https://capital.sec.or.th/webapp/corp_fin/datafile/69/2014/031900024401012014-12-01T3009_Research_and_development.PDF
Chuamsompong, B., & Kajornsaksirikul, P. (2014). Development of Standard Recipe for Jujube Tartetatin. Journal of Food Health and Bioenvironmental Science, 7(2), 57–66. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/sdust/article/view/29399
Kanasee, T. (2016). Direct Fired Oven a Roasted Chicken Using Heat Electric. Udon Thani Rajabhat University Journal of Science and Technology, 4(1), 35-47. https://articles.reru.ac.th/article.php?id=240
Pattanasing, T. & Soteyome, T. (27 March 2020). Development of NimNuan Dessert Partially Substituted Glutinous Rice Flour with Banana Bud Powder. National & International Conference 11th, 1122-1132.
http://www.journalgrad.ssru.ac.th/index.php/8thconference/issue/view/81
Pumpho, W., Khon-ngam, V., Labuawong, S., Arwat, P., & Sa-adchom, P. (2020). Production of Roasted Chicken in Jar Using Heat Transfers from Far-infrared Ray. RMUTP Research Journal Sciences and Technology, 14(2), 85–97. https://doi.org/10.14456/jrmutp.2020.23
Rana, M.M., Yasmin, S., Mahomud, M.S., Noor, F., & Sarker, M.S. (2023). Development and performance evaluation of an improved electric baking oven for baked products. Food Science & Nutrition, 11, 3057 - 3066. https://onlinelibrary.wiley.com/doi/full/10.1002/fsn3.3287
Silpcharu, T. (2020). Statistical data research and analysis with SPSS and AMOS. (18th ed.). Nonthaburi: S.R. Printing Mass Products.
Thongdaeng, S., & Lamlerd, B. (2018). THERMAL IMAGE TECHNIQUE AND THERMAL EFFICIENCY COMPARISON OF FIRED OVEN CHICKEN. Udon Thani Rajabhat University Journal of Science and Technology, 6(2), 67-79. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/scudru/article/view/179372
Wiriyacharee, P. (2002). Sensory Evaluation (1th ed.). Chiang Mai: Faculty of Agro-Industry Chiang Mai University.
Witinantakit, K., Supsing, S., Boonthum, E., & Taechapairoj. (2020). Effect to Black Sesame Supplementation on Sensory Qualities of Fresh Noodle. Journal of Science and Technology Mahasarakham University, 39(5), 145–153.
https://li01.tci-thaijo.org/index.php/scimsujournal/article/view/220609
Wong-arun, W., & Chanphaeng, T. (2021). Effect to Black Sesame Supplementation on Sensory Qualities of Fresh Noodle. Rajabhat Rambhai Barni Research Journal, 15(3), 145–153. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/sdust/artic
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว