การพัฒนาเครื่องค้นหูกเส้นไหมด้วยเทคนิค ECRS

Main Article Content

มาโนช ริทินโย
นิคม ลนขุนทด
อรุณ อุ่นไธสง
วิทยา อินทร์สอน

Abstract

This study aims at developing the silk weft preparation machine which can produce 44 meter length weft as well as reducing workers’ energy while they are working. ECRS technique was used to improve the machine. According to problem analysis, the researcher found that the traditional silk weft preparation tool could produce low number of productions. After consideration on problems found, the most important problem affecting low number of production were 1) Human fatigue, 2) Ergonomics risk and 3) the limitation of technology. This study developed the silk weft preparation machine, based on ECRS techniques, which could help 1) cutting working steps and reducing movement that cause time wasting to get silk together in the weft (E-Eliminate), 2) combining some steps (C-Combine), and 3) developing easier silk weft preparation (S-Simplify). The results of the study found that the silk weft preparation machine using ECRS technique reduced the time for weft preparation with the following amount, 7 pieces (14 meters), 11 pieces (22 meters), and 17 pieces (31 meters) at 56.45%, 62.12% and 67.01% respectively. Moreover, it helped reducing the workers' energy at 17.35%, 16.28% and 31.59% respectively comparing to the result of using traditional weft preparation tool.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

[1] ธันยมัย เจียรกุล. ปัญหาและแนวทางการปรับตัวของ OTOP เพื่อพร้อมรับการเปิด AEC. วารสารนักบริหาร Executive Journal. 2557; 1: 177–191.
[2] Porter ME. The Competitive Advantage of Nations. London: Macmillan; 1990.
[3] อรทัย สายสะอาด, อรสา อินทร์น้อย, สุดาพร ตังควนิช. ค่านิยมการและพฤติกรรมการซื้อผ้าไหมของผู้บริโภคชาวไทยในจังหวัดอุบลราชธานี ชาวกัมพูชาในจังหวัดเสียมเรียบ และชาวลาวในเมืองชนะสมบูรณ์. วารสารศรีวนาลัยวิจัย. 2557; 7: 58–64.
[4] ศิริพร บุญชู, นันทวรรณ รักพงษ์. ภูมิปัญญาการผลิตเส้นไหมไทยพื้นบ้านอีสาน. กรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2555.
[5] ชิโนรส ละอองวรรณ. การพัฒนาหลักสูตร เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตสินค้าชุมชนประเภทผ้าและเครื่องแต่งกาย โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ชุมพร. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2549.
[6] มานพ ชุ่มอุ่น. การจัดการความรู้เพื่อพัฒนา ธุรกิจชุมชนในผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ กรณีศึกษา: กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง ตำบลแม่แรง อำเภอป๋าซาง จังหวัดลำพูน. วารสารวิจัยราชภัฏเชียงใหม่. 2555; 2: 155–168.
[7] ศศิเพ็ญ พวงสายใจ. การวิจัยแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อการส่งออกของชุมชน กรณีศึกษากลุ่มผู้ผลิตน้ำมันงา จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่. 2551; 1: 46–55.
[8] ศิริพร เบญจมาศ. การศึกษาปัญหาทางการผลิตและทางการตลาด ตลาดผ้าไหม อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น. รายงานการศึกษาอิสระเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2553.
[9] ศิริวรรณ ศิริรักวงษา. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการทอผ้าไหมลายกะเหรี่ยง อำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง. 2551.
[10] นฤดม ทาดี, อมรศักดิ์ มาใหญ่, ศาสตรา บุญมาก. เครื่องค้นหูกเส้นฝ้ายสำหรับเส้นฝ้ายยืน. รายงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. 2557.
[11] จิตติวัฒน์ นิธิกาญจนธาร, มาโนช ริทินโย, อมรศักดิ์ มาใหญ่, นฤดม ทาดี, วรรณา หอมจะบก, ธงชัย ประจักษ์สูตร์. วิจัยและพัฒนาเครื่องค้นหูกเส้นไหมสำหรับวิสาหกิจชุมชนและเครื่องขึ้นฟืมเส้นไหม. รายงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. 2558.
[12] มาโนช ริทินโย. เครื่องค้นหูกเส้นไหม. อนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1703000051. 2559.
[13] Keytel LR, Goedecke JH, Noakes TD, Hiiloskorpi H, Laukkanen R, van der Merwe L, et al. Prediction of energy expenditure from heart rate monitoring during submaximal exercise. J Sports Sci. 2005; 23(3): 289–97.