เส้นทางที่เหมาะสมของปลายแขนกลกรีดยางพารา
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเลือกเส้นทางการเคลื่อนที่ที่เหมาะสมของปลายแขนกลกรีดยางพารา ปลายแขนกลถูกสร้างจากตัวขับเร้าเชิงเส้นสองตัวที่ติดตั้งอยู่ด้านบนของชุดจับยึดกับลำต้นยางพารา เส้นทางการเคลื่อนที่ของปลายแขนกลได้จากสมการการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง โพลิโนเมียล และวงกลม ของตัวขับเร้าเชิงเส้นทั้งสอง การทดสอบทำโดยการให้ปลายแขนกลเคลื่อนที่ไปบนต้นยางจำลอง ผลการทดสอบพบว่า เส้นทางการเคลื่อนที่ที่สร้างจากสมการเส้นตรง และสมการวงกลมเป็นเส้นทางที่เหมาะสมสำหรับการกรีดยาง
Article Details
วารสารวิศวกรรมฟาร์มและเทคโนโลยีควบคุมอัตโนมัติ (FEAT Journal) มีกําหนดออกเป็นราย 6 เดือน คือ มกราคม - มิถุนายน และกรกฎาคม - ธันวาคม ของทุกปี จัดพิมพ์โดยกลุ่มวิจัยวิศวกรรมฟาร์มและเทคโนโลยีควบคุมอัตโนมัติ คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นการส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้ ผลงานทางวิชาการ งานวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีพร้อมทั้งยังจัดส่ง เผยแพร่ตามสถาบันการศึกษาต่างๆ ในประเทศด้วย บทความที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร FEAT ทุกบทความนั้นจะต้องผ่านความเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้องและสงวนสิทธิ์ ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2535
References
[2] Sengdang Y and et al. Mathematical Modeling of an End-effector Motion for Automatic Para rubber Tapping Machine. Proceedings of the 14th Conference on Thailand Society of Agricultural Engineering; 2013 Apr 1-4; Prachuap Khiri Khan ; 2013.
[3] Sengdang Y and et al. Feedback Controller Design of an End-effector for Automatic Para rubber Tapping Machine. Proceedings of the 15th Conference on Thailand Society of Agricultural Engineering; 2014 Apr 2-4; Ayutthaya; 2014.