Development of the automatic pouring raw milk storage tank machine

Main Article Content

Dr. Aphichat Srichat

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ เป็นการพัฒนาเครื่องเทถังเก็บน้ำนมดิบอัตโนมัติให้สามารถทำงานได้ปริมาณมากๆ ลดการใช้แรงงานคน สามารถประหยัดเวลาและลดต้นทุนในกระบวนการรวบรวมน้ำนมดิบ โดยใช้การควบคุมการทำงานโดยใช้ PLC ควบคุมระบบนิวแมติกส์ ทำการทดลองด้วยการกำหนดเวลาที่ใช้ในการเทถังนมจาก 5 – 15 วินาที กำหนดให้น้ำนมในถังมีปริมาณ 40 ลิตร และกำหนดแรงดันลมที่ 7 บาร์ จากการทดสอบพบว่าการกำหนดเวลาในการควบคุมมีผลต่อปริมาณน้ำนมที่ได้ โดยเมื่อกำหนดระยะเวลานานขึ้นจะทำให้เครื่องสามารถเทน้ำนมออกได้จนหมดไม่มีน้ำนมค้างในถังเลย และพบว่าเวลาในการเทน้ำนม 10 วินาที จะสามารถเทน้ำนมได้จนหมดถัง สามารถเทน้ำนมได้ 100% ทำให้ได้อัตราการเทน้ำนมดิบ 1 ถัง ต่อ 30 วินาที เท่ากับ 120 ถัง/ชั่วโมง สามารถลดการใช้แรงงานคนและลดต้นทุนในกระบวนการแปรรูปน้ำนมดิบอีกได้เป็นอย่างดี

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความวิจัย
Author Biography

Dr. Aphichat Srichat, Department of Mechanical Engineering, Faculty of Technology, Udonthani Rajabhat University, 234 Moo 12 SamPraow Muang Udonthani 41000

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิชาติ  ศรีชาติ

หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

สถานที่ทำงาน

สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี (สามพร้าว) 123 หมู่ 12 ต.สามพร้าว อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000

โทรศัพท์ :  042-211040 – 59 ต่อ  3641  โทรศัพท์ (มือถือ) :  087-2186214

Email:  [email protected]

Facebook : https://www.facebook.com/Aphichat Srichat

ID Line : Saphichat

เลขที่ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม : ภฟก. (ภาคี ไฟฟ้ากำลัง) 49182

เลขที่ผู้ประเมินตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน : อบ. 134 00011

เลขที่ผู้ประเมินสมรรถนะร่วมที่ปรึกษาอุตสาหกรรม (I3C) : 59W41

ผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ระดับผู้ช่วยผู้ชำนาญการ เลขที่ อพช.1-61-056

ผู้ตรวจสอบรับรองแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน เลขที่ ผบอ./สกอ. รุ่นที่ 10/2561 (323)

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2548       ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า  คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย

พ.ศ. 2551       ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย

พ.ศ. 2560       ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย

 

References

กลุ่มสารสนเทศและข้อมูลสถิติ . ข้อมูลจำนวนปศุสัตว์ในประเทศไทย ปี 2560, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : กรุงเทพ ฯ; 2560.

จำนวนเกษตรกรและโคนม รายจังหวัด ปี 2560, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561]. เข้าถึงได้จาก:http://ict.dld.go.th/th2/images/stories/stat_web/monthly/2560/T3-1.pdf,

ตารางประมาณการประชากรสัตว์ ปริมาณอาหารสัตว์และการใช้วัตถุดิบ ปี 2560. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561]. เข้าถึงได้จาก: www.thaifeedmill.com

ปศุศาสตร์ นิ้ว์ เรื่องอาหารสำเร็จรูปและ ผสมเอง อย่างไหนตอบโจทย์ชาวปศุสัตว์. . (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://www.pasusart.com

การเก็บรักษาน้ำนม, ศูนย์เครือข่ายข้อมูลอาหารครบวงจร บริษัท ฟู๊ด เน็ตเวอร์ค โซลูชั่น (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://www.foodnetworksolution.com

สุณีรัตน์ เอี่ยมละมัย, อดุลย์ วังตาล และจุไรรัตน์ ถนอมกิจ. มาตรฐานความปลอดภัยอาหารตลอดห่วงโซ่การผลิตเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ความปลอดภัยอาหาร : น้ำนม. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). 2556; หน้า 12 – 19.

รูปแบบการเทถังน้ำนมดิบในในปัจจุบัน. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2561]. เข้าถึงได้จาก: https://www.bloggang.com/data/f/foremostdairy/picture/1315549864.jpg