การพัฒนาเครื่องหว่านอาหารปลาแบบตั้งเวลาอัตโนมัติ 7 ระดับ

Main Article Content

Dr. Aphichat Srichat

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการพัฒนาเครื่องหว่านอาหารปลาแบบตั้งเวลาอัตโนมัติ 7 ระดับ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดการใช้แรงงานคน ประหยัดเวลา และลดต้นทุนในการเลี้ยงสัตว์น้ำในบ่อเลี้ยง การทดสอบเพื่อหาอัตราการพ่นอาหารสัตว์ ด้วยการกำหนดความเร็วการหมุน (ซ้าย-ขวา) ไว้ 2 ระดับ คือ 33.33 และ 46.15 rpm และระดับการพ่นเป็น 7 ระดับ คือ ระดับ 1 - 7 (ความเร็วลมพ่น 7 ระดับ) พบว่าที่ระดับการพ่น ระดับ 1 – 3 ค่าอัตราการพ่นอาหารสัตว์จะเพิ่มขึ้นจนถึงค่าสูงสุด คือ อัตราการพ่นอาหารสัตว์ 30 kg/นาที ที่ความเร็วรอบการพ่น 46.15 rpm และระยะการพ่นไกล 7 เมตร แต่เมื่อเพิ่มระดับการพ่น เป็นระดับ 4 – 7 ค่าอัตราการพ่นอาหารสัตว์มีค่าลดลง ทั้ง 2 ระดับ ความเร็วรอบการพ่นมีค่าลดลงเช่นเดียวกัน เมื่อนำเครื่องหว่านอาหารสัตว์ไปใช้งานจริงสามารถลดแรงงานและลดต้นทุนการเลี้ยงสัตว์น้ำลงได้

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความวิจัย
Author Biography

Dr. Aphichat Srichat, Department of Mechanical Engineering, Faculty of Technology, Udonthani Rajabhat University, 234 Moo 12 SamPraow Muang Udonthani 41000

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิชาติ  ศรีชาติ

หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

สถานที่ทำงาน

สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี (สามพร้าว) 123 หมู่ 12 ต.สามพร้าว อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000

โทรศัพท์ :  042-211040 – 59 ต่อ  3641  โทรศัพท์ (มือถือ) :  087-2186214

Email:  [email protected]

Facebook : https://www.facebook.com/Aphichat Srichat

ID Line : Saphichat

เลขที่ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม : ภฟก. (ภาคี ไฟฟ้ากำลัง) 49182

เลขที่ผู้ประเมินตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน : อบ. 134 00011

เลขที่ผู้ประเมินสมรรถนะร่วมที่ปรึกษาอุตสาหกรรม (I3C) : 59W41

ผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ระดับผู้ช่วยผู้ชำนาญการ เลขที่ อพช.1-61-056

ผู้ตรวจสอบรับรองแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน เลขที่ ผบอ./สกอ. รุ่นที่ 10/2561 (323)

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2548       ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า  คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย

พ.ศ. 2551       ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย

พ.ศ. 2560       ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย

 

References

[1] ข้อมูลจำนวนปศุสัตว์ในประเทศไทย ปี 2558, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://ict.dld.go.th/th2/images/ stories/stat_web/yearly/2558/1.area_region.pdf.

[2] สถิติผลผลิตการเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประจำปี 2560, กองนโยบายและยุทธศาสตร์พัฒนาการประมง, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (สื่อออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://monitor.smp.nso.go.th/report/stat/pu/osoverview/detaildmt=1&Mode=1&Year=2560&DepartmentId=61.

[3] เรื่องอาหารสำเร็จรูปและ ผสมเอง อย่างไหนตอบโจทย์ชาวปศุสัตว์. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://www.pasusart.com.

[4] ตารางประมาณการประชากรสัตว์, ปริมาณอาหารสัตว์และการใช้วัตถุดิบ ปี 2560. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaifeedmill.com.

[4] อาหารและการให้อาหารสัตว์. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2561]. เข้าถึงได้จาก: https://leesaemoa.wordpress.com.

[5] อนันต์ แก่นจันทร์, ชีวิน อรรถสาสน์ และ ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธ์. การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องให้อาหารกุ้งอัตโนมัติ. การประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนาชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 15, วันที่ 23 กรกฎาคม 2558, จังหวัดนครสวรรค์; 2558.

[6] วิชา หมั่นท้าการ, เขมชาติ ปัญจมทุม, เชาว์ หมายตามกลางและจีรวัฒน์ ด่านทองหลาง. การวิจัยและพัฒนาสร้างเครื่องหว่านอาหารเม็ดส้าเร็จรูปส้าหรับบ่อเพาะเลี้ยงปลา-กุ้ง. วิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2536; 7(20):1-12.

[7] ผศ.อรพินท์ จินตสถาพร (2548), เครื่องให้อาหารสัตว์น้ำอัตโนมัติ. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2561]. เข้าถึงได้จาก: https://www.ku.ac.th/e-magazine.