A เครื่องแยกเมล็ดข้าวโพดออกจากซังเพื่อวิสาหกิจชุมชน

Main Article Content

Anuwit TID sonsiri

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดเวลาและขั้นตอนในการแยกเมล็ดข้าวโพดออกจากซัง เพื่อเกษตรกรได้นำไปใช้ โดยได้ทำการเริ่มศึกษาข้อมูล กำหนดวัตถุประสงค์ วางแผน ออกแบบ สร้างเครื่องและทดลองเครื่องมีขนาด 480×620×1,560 มิลลิเมตร ทำงานจากกำลังขับมอเตอร์ส่งกำลังด้วยสายพาน ให้แกนเพลาซึ่งยึดติดกับโซ่หมุนด้วยความเร็วคงที่ ทดลองด้วยความเร็วรอบที่ 480, 720 และ 1,440 รอบ/นาที ระยะห่างของโซ่ 70, 85 และ 100 มิลลิเมตร และรูปแบบการเรียงตัวของแนวโซ่ แบบขนาน, แบบสลับฟันปลาและแบบเรียงสอง จากการทดลองพบว่าปริมาณข้าวโพด 7 กิโลกรัม ระยะเวลา 30 วินาที มีประสิทธิภาพการทำงานร้อยละ 98 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ค่าเฉลี่ยจากการทดลองของเมล็ดข้าวโพด 5.95 กิโลกรัม ซังข้าวโพด 0.99 กิโลกรัม ฝุ่นผง 0.06 กิโลกรัม ด้วยความเร็วรอบ 720 รอบ/นาที ระยะห่างของโซ่ 85 มิลลิเมตร และใช้รูปแบบการเรียงตัวของแนวโซ่แบบสลับฟันปลา

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความวิจัย

References

ช่อลัดดา เที่ยงพุก. ปกป้องสายตาด้วยข้าวโพด. วารสารอาหาร. 2556; 43(1): 46-50.

Animals-farm. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://www.animals-farmข้าวโพด/

สมพร อิศวิลานนท์ และ ปิยทัศน์ พาฬอนุรักษ์.ห้าทศวรรษของการพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยและการก้าวต่อไปเพื่อรองรับกับประชาคมอาเซียน. งานวิจัยเชิงนโยบายเกษตร2557; 2(1): 1-6.

อุทัย คันไธ.อาหารสุกรและสัตว์ปีกเชิงประยุกต์.ยู เค ที พับลิชชิ่ง, บจก: ฉะเชิงเทรา; 2559.

วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/ข้าวโพด

What Grain Moisture Should I Harvest Corn At?. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2562] เข้าถึงได้จาก:https://corn.ces.ncsu.edu/2018/08/harvesting-corn-what-grain-moisture-should-i-harvest-corn-at/

สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2562]. เข้าถึงได้จาก: http:// as.doa go..th/fieldcrops/corn/oyh/ph_1.HTM

สำนักข่าวอิศรา.ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์.(สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://www.isranews.org/about-us/ download/466/23923/18.htmi

บรรเลง ศรนิล และ สมนึก วัฒนศรีกุล.ตารางคู่มืองานโลหะ.ศูนย์ผลิตตำราเรียน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ:กรุงเทพฯ;2558.

นพพร ธนะชัยขันธ์. สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิจัย. วิทยพัฒน์: กรุงเทพฯ; 2555.