การควบคุมจากค่าปรับตั้งที่ใช้ในการควบคุมสภาวะแวดล้อม แบบอัตโนมัติไร้สายภายในโรงเรือนเปิดดอกเห็ดนางฟ้า

Main Article Content

Ponthep Vengsungnle

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบปริมาณของดอกเห็ดนางฟ้าที่มีการควบคุมสภาวะแวดล้อมภายในโรงเรือนเปิดดอกที่แตกต่างกัน โดยแบ่งค่าปรับตั้งของการควบคุมออกเป็น 4 ค่าปรับตั้ง ในแต่ละค่าปรับตั้งมีการควบคุมพัดลมระบายอากาศ และหัวฉีดน้ำให้มีเงื่อนไขของเวลา อุณหภูมิ และความชื้นที่แตกต่างกัน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าผลผลิตเฉลี่ยของการใช้ค่าปรับตั้งที่ 1, 2, 3 และ 4 มีค่าเฉลี่ยผลผลิตเท่ากับ 42.97 ± 11.16, 51.24 ± 10.09, 56.44 ± 9.85, และ 55.26 ± 14.96 กรัมต่อก้อน และมีเปอร์เซ็นต์การเกิดเท่ากับ 83%, 87%, 91% และ 89% ตามลำดับ ผลการศึกษายังแสดงให้เห็นว่าเงื่อนไขที่ต่างกันยังส่งผลให้อัตราการเกิดของเห็ดมีค่าแตกต่างต่างกันซึ่งมีค่าเท่ากับ 42.38, 51.56, 55.49 และ 51.52 กรัมต่อก้อนต่อวัน ตามลำดับ ดังนั้นการศึกษาจึงแสดงให้เห็นว่าการใช้อุณหภูมิและความชื้นมาเป็นเงื่อนไขร่วมในการควบคุมอุปกรณ์ภายในโรงเรือนช่วยให้ผลผลิตมีค่าเพิ่มขึ้น ซึ่งเงื่อนไขที่ส่งผลให้ได้ผลผลิตสูงที่สุดได้แก่เงื่อนไขที่ 3

Article Details

How to Cite
1.
Vengsungnle P. การควบคุมจากค่าปรับตั้งที่ใช้ในการควบคุมสภาวะแวดล้อม แบบอัตโนมัติไร้สายภายในโรงเรือนเปิดดอกเห็ดนางฟ้า. featkku [อินเทอร์เน็ต]. 29 มิถุนายน 2020 [อ้างถึง 23 มกราคม 2025];6(1):40-9. available at: https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/featkku/article/view/227325
บท
บทความวิจัย

References

Yamauchi M, Sakamoto M, Yamada M, Hara H, Mat T, Rezania S, Mohd F, Mohd H. Cultivation of Oyster Mushroom (Pleurotus Ostrreatus) on Fermented Moso Bamboo Sawdust. Journal of King Saud University – Science, 2018, 31(4), 490-494.

Wani B, Bodha R, Wani A. Nutritional and Medicinal Importance of Mushrooms. Journal of Medicinal Plants Research, 2010, 4(24), pp. 2598–2604.

Roncero-Ramos, Delgado-Andrade. The Beneficial Role of Edible Mushrooms in Human Health. Current Opinion in Food Science, 2017, 14, pp. 122–128.

Venturini M, Reyes J, Rivera C, Oria R, Blanco D. Microbiological Quality and Safety of Fresh Cultivated and Wild Mushrooms Commercialized in Spain. Food Microbiol., 2011, 28(8), pp. 1492–1498.

Xiong S, Martín C, Eilertsen L, Wei M, Myronycheva O, Larsson SH, Lestander TA, Atterhem L, Jönsson LJ. Energy-Efficient Substrate Pasteurisation for Combined Production of Shiitake Mushroom (Lentinula Edodes) and Bioethanol. Bioresour. Technol., 2019, 274, pp. 65–72.

O’Brien BJ, Milligan E, Carver J, Roy ED. Integrating Anaerobic Co-Digestion of Dairy Manure and Food Waste with Cultivation of Edible Mushrooms for Nutrient Recovery. Bioresour. Technol. 2019, 285, 121312.

Thai Agricultural Standard Tas 2504-2012, Good Agricultural Practices for Bag Mushroom Cultivation, thailand. [cited 2020 March]. Available from:https://www.acfs.go.th/standard/download/eng/GAP_bag_mushroom_cultivation.pdf

Thai Agricultural Standard Tas 1514-2012, Pleurotus Mushrooms, thailand. [cited 2020 March]. Available from: http://web.acfs.go.th/standard/download/eng/PLEUROTUS_MUSHROOMs_ENG.pdf

Bogdan M. How to Use the DHT22 Sensor for Measuring Temperature and Humidity with the Arduino Board. ACTA Univ. Cibiniensis, 2016, 68(1), pp. 22-25.

Kashyap M, Sharma V, Gupta N. Taking MQTT and NodeMcu to IOT: Communication in Internet of Things. Procedia Computer Science, 2018, 132, pp. 1611–1618.

NodeMCU. Wikipedia [Online]. [cited 2020 March]. Available from:https://en.wikipedia.org/wiki/NodeMCU.

Mohanraj I, Ashokumar K, Naren J. Field Monitoring and Automation Using IOT in Agriculture Domain. Procedia Computer Science, 2016, 93, pp. 931–939.

Peck R, Olsen C, and Devore JL. Introduction to Statistics and Data Analysis, Cengage Learning, 2016, United Stated of America.

Ranal MA, Santana DGD. How and Why to Measure the Germination Process?. Revista Brasileira de Botanica, 2006, 29(1), pp.1-11.

Rezaei F, Yarnia M, Mirshekari B. Allopathic Effects of Chenopodium Album, Amaranthus Retrofelexus and Cinodon Dactylonon Germination and Growth of Rapeseed. Agroecology Journal, 2008, 4, pp. 41–55.

อัตราค่าน้ำและบริการ. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://www.mwa.co.th/ewt_news.php?nid=303.

อัตราปกติประมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://www.mea.or.th/profile/109/111.