ระบบควบคุมสมดุลน้ำอัตโนมัติในบ่อกุ้งโดยใช้อินเตอร์เน็ทของสรรพสิ่ง ระบบควบคุมสมดุลน้ำอัตโนมัติในบ่อกุ้งโดยใช้อินเตอร์เน็ทของสรรพสิ่ง

Main Article Content

อติราช สุขสวัสดิ์
เฉลิมวุฒิ น้อยอุ่นแสน
ปิยะนุช ตั้งกิตติพล
จักรพนธ์ อบมา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้นำเสนอระบบควบคุมคุณภาพน้ำในบ่อพักกุ้งโดยใช้อินเตอร์เน็ทของสรรพสิ่ง เพื่อควบคุมแบบอัตโนมัติในการให้สารอาหาร แร่ธาตุ ปรับค่าความเป็นกรด-ด่าง และอุณหภูมิ โดยใช้ตัวรับรู้ค่า TDS , PH และอุณหภูมิส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ท แสดงผลผ่านจอ LCD และสั่งการ แป้นพิมพ์หน้าบ่อกุ้ง และเว็ปแอปพลิเคชั่น จะใช้ไมโครคอนโทรเลอร์ ESP32 สั่งการอุปกรณ์ควบคุมบ่อกุ้งและทำงานร่วมกับ Raspberry pi เพื่อเชื่อมต่อสู่ Platform Thingsboard การทดสอบความถูกต้องของค่าที่วัดได้จาก Temperature Sensor, TDS Sensor, และ PH Sensor กับอุปกรณ์เครื่องมือวัดมาตรฐานจากการทดสอบ พบว่าเปอร์เซ็นต์ค่าความผิดพลาดที่เกิดจากตัวรับรู้ค่าอุณหภูมิ, ตัวรับรู้ค่า TDS, และ ตัวรับรู้ค่า PH เมื่อเปรียบเทียบเครื่องมือวัดมาตรฐานตามช่วงเวลา 1 วัน เป็นจำนวน 10 ครั้ง ตัวรับรู้ค่าอุณหภูมิมีค่าความผิดพลาดเท่ากับ 0.4 เปอร์เซ็นต์, ตัวรับรู้ค่า TDS มีค่าความผิดพลาดเท่ากับ 1.4 เปอร์เซ็นต์, และ ตัวรับรู้ค่า PH มีค่าความผิดพลาดเท่ากับ 1.32 เปอร์เซ็นต์

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความวิจัย

References

พัชราวลัย ศรียะศักดิ์, นิวุฒิ หวังชัย, ชนกันต์ จิตมนัส, จงกล พรมยะ และ หลุยส์ เลอเบล. ผลกระทบจากสภาพอากาศและฤดูกาลต่อคุณภาพนํ้าในบ่อเลี้ยงสัตว์นํ้า. วารสารวิจัย มข. ; 19(5): 743-50.

ปัทมา วิริยะพัฒนทรัพย์. 3 สะอาด แนวทางการเลี้ยงกุ้งในยุคปัจจุบัน. วารสารเกษตรพระวรุณ. 2562; 15(1): 31-40.

เบญญาภา ธีระวิทยเลิศ, นิลาวรรณ งามขำ, วรางคณา วิเศษมณี ลี, ยิ่งเจริญ คูสกุลรัตน์และ ธวัช เพชรไทย. การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากโลหะหนักที่ปนเปื้อนในกุ้ง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 2560; 3(1): 52-60.

Muhammad Junda.Development of Intensive Shrimp Farming, Litopenaeus vannamei In Land-Based Ponds: Production and Management. 2nd International Conference on Statistics, Mathematics, Teaching, and Research; 2017 October 9 –10 Makassar, Indonesia; 2017.

สร้อยดาว วินิจนันทรัตน์, รัตติกานต์ เนียมจันทร์, ภาวิณี พัฒนจันทร์, บัณฑิต ติรชุลี, ธาณี ดาวเรือง, ศิววรรณ พูลพันธุ์และ จิรทยา พันธุ์สุข. การใช้วัสดุพื้นถิ่นเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำในบ่ออนุบาลกุ้งกุลาดำ. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 2563; 8(1): 184-97.

Francisco J, Epinosa-Faller, Guillermo E and Rendon- Rodriguez. A ZigBee wireless sensor network for monitoring an aquaculture recirculating system. Journal of Applied Research and Technology. 2012; 10(3): 380-7.

Daudi S. Simbeye and Shi Feng Yang. Water Quality Monitoring and Control for Aquaculture Based on Wireless Sensor Networks. JOURNAL OF NETWORKS. 2014; 9(4): 840-9.

Jen-Yung Lin, Huan-Liang Tsai and Wei-Hong Lyu. An Integrated Wireless Multi-Sensor System for Monitoring the Water Quality of Aquaculture. MDPI Journal (Sensors). 2021; 21(8179): 1-20.

วิวัฒน์ มีสุวรรณ์. อินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่ง (Internet of Things) กับวารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม. 2559; 4(2): 83-92.

ธีรพงศ์ สงผัด และจุฑามณี รุ้งแก้ว. อินเตอร์เน็ตในสรรพสิ่งสำหรับการควบคุมการใช้ไฟฟ้าผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 2565; 2(2): 22-30.

Nocheski S and Naumoski A. WATER MONITORING IOT SYSTEM FOR FISH FARMING PONDS.INTERNATIONAL SCIENTIFIC JOURNAL. 2018; 3(2): 77-9.

Preetham K, Mallikarjun BC and Umesha K. Aquaculture monitoring and control system: An IoT based approach. International Journal of Advance Research, Ideas and Innovations in Technology. 2019; 5(2): 1167-70.

นิฏฐิตา เชิดชู และ วีระศักดิ์ ชื่นตา. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการฟาร์มกุ้งด้วยการลดการใช้ไฟฟ้าที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์และควบคุมการเลี้ยงด้วยเทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์น้ำแม่นยำ .วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 2562; 9(2): 85-96.