การเพิ่มประสิทธิภาพคลังจัดเก็บสินค้าเครื่องดื่ม กรณีศึกษา: บริษัทเครื่องดื่มตัวอย่าง

Main Article Content

Chanpen - Anurattananon
Prachuab Klomjit
Thanatorn Chuenyindee
Praewpan Songsuktawan

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการทำงานภายในคลังสินค้า โดยปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นจากการจัดวางตำแหน่งสินค้าให้มีการทำงานที่ง่ายและรวดเร็วในการทำงานด้วยหลักทฤษฎีการวิเคราะห์เอ บี ซี และรูปแบบการจัดคลังสินค้าที่เหมาะสมกับการทำงานเพื่อลดเวลาการทำงานและต้นทุนตามหลักทฤษฎีการจัดการคลังสินค้า  ขั้นตอนการดำเนินงานจะทำการปรับปรุงการจัดวางตำแหน่งสินค้า จะทำการทดลองเก็บเวลาในการหยิบสินค้าของตำแหน่งจัดวางเดิมเพื่อเปรียบเทียบกับการจัดวางตำแหน่งที่จัดทำขึ้นใหม่โดยการจัดตำแหน่งใหม่นั้นประกอบไปด้วยข้อมูลความถี่ในการสั่งซื้อสินค้า น้ำหนักของสินค้ามาประยุกต์ใช้กับทฤษฎีการวิเคราะห์เอ บี ซี และหาวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพตามหลักการการจัดการสินค้าคงคลัง เพื่อให้มีการทำงานที่รวดเร็วขึ้น ซึ่งส่งผลให้ได้ต้นทุนที่ลดลง โดยการสุ่มเลือกใบนำออกสินค้ามาทดลองในวิธีการหยิบ และเก็บข้อมูลด้านเวลา เพื่อเปรียบเทียบหาเวลาที่ดีที่สุด ซึ่งพบว่าสามารถลดต้นทุนได้ 0.76 บาทต่อชิ้น ลดเวลาทำงานได้ 14.48% และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานได้ 13.24%

Article Details

How to Cite
Anurattananon, C. .-., Klomjit, P., Chuenyindee, T., & Songsuktawan, P. (2019). การเพิ่มประสิทธิภาพคลังจัดเก็บสินค้าเครื่องดื่ม กรณีศึกษา: บริษัทเครื่องดื่มตัวอย่าง. วารสารข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการไทย, 5(1), 49–58. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/ienj/article/view/183463
บท
Research and Review Article

References

[1] คำนาย อภิปรัชญาสกุล, คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า, พิมพ์ครั้งที่ บริษัท โฟกัสมีเดียแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด, หน้า5-9.
[2] คำนาย อภิปรัชญาสกุล,การจัดการคลังสินค้า, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์ตำรวจ, 2547, หน้า 4-224.
[3] Edwaerd H. and Frazell ., การจัดการคลังสินค้าระดับโลก (อนุวัฒน์ ทรัพย์พืชผล, ไพบูลย์ กิจวรวุฒิ),
พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร,บจก.พิมพ์ดี 2549, หน้า 63-97
[4] คำนาย ,การจัดการคลังสินค้า, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ โรงพิมพ์ตำรวจ, 2547, หน้า 4-224
[5] ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์, การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเซน, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร, เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด, 2550,หน้า 235-241
[6] Jame, a.t. and Jerry, D.S., 1998 “The Warehouse Management handbook”, second Edition ,Tompkins Press, Pages 823-848.
[7] Douglas M. lambert, James R.Stock and Lisa M.Ellram, การจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์(กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ, ศลิษา ภมรสถิตย์, จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา), แมคกรอ-ฮิล International Enterprise, 2547, หน้า 159-175.
[8] พิภพ ลลิตาภรณ์, ระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต, ผลิตครั้งที่ 13, กรุงเทพมหานคร, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), 2549, หน้า 383-388
[9] สิทธิชัย ดำรงแดน, จัดทำดัชนีประสิทธิภาพที่เหมาะสมสำหรับการดำเนินงานของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการขนส่งและโลจิสติกส์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2549
[10] ปณิกา ไชยตะมาตร์, การปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้า, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
[11] ภัคสุเพ็ญ จีวพันธ์พงษ์, ปรับปรุงระบบสินค้าคงคลังของวัตถุดิบของโรงงานกระดาษขนาดใหญ่, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547
[12] กฤษนันท์ธารายดินทร์, การปรับปรุงประสิทธิภาพคลังสินค้าเหล็กแผ่นม้วนรีดร้อนด้วยวิธีการจัดวางแบบกลุ่มลำดับชั้นสินค้า,วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการจัดการการขนส่งและโลจิสติกส์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550
[13] ชัชวาล อมาตยกุล, การปรับปรุงการบริหารจัดการคลังสินค้าในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2545
[14] Chew, E.P., &Tang,L.C. 1996, Theron and Methodology Travel time Analysis General Item Location Assignment in a rectangular warehouse . European Journal of Operation Research 112, Pages 582-597.
[15] Ye Chen, Kevin W.Li, 2008, Case-Based Distance Model for Multiple Criteria ABC Analysis. Department of System Design Engineering, University of waterloo, Volume Issue 3, Pages 776-769.
[16] Berg and Zijm, 1999, Model for Warehouse Management: Classification and Example. International Journal of Production Economic, 59, Pages 519-528.