ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี

ผู้แต่ง

  • พัชรินทร์ ปัญจมณี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • พรทิพย์ สุริยาชัยวัฒนะ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา, การดาเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ระดับการดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา และครูในโรงเรียนมาตรฐานสากล ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี จานวน 269 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราวัดประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ระดับการดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี อยู่ในระดับมากโดยภาพรวมและรายด้าน และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2543). แนวทางการบริหารโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร : กรมวิชาการ.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2552). วิกฤตคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ซักเซสมีเดียร์.

ดิเรก วรรณเศียร ประสิทธิ์ เขียวศรี, นพรุจ ศักดิ์ศิริ. (2555). มาตรฐานสากลกับการเตรียมการและแสวงหาผู้ร่วมพัฒนา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณ์รัตน์. (2547). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร : แซทโฟร์พริ้นติ้ง.

ธีรพนธ์ คงนาวัง. (2545). ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในยุคปฏิรูปการศึกษา. วารสารวิชาการ 2. (กุมภาพันธ์ 2545), 18.

พเยาว์ สุดรัก. (2553). ศึกษาสมรรถนะหลักของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ภาวิณี ศรีสุขวัฒนานันท์. (2548). การสร้างเครือข่ายพัฒนาโรงเรียนจากการวิจัยปฏิบัติการ.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2548). แนวทางการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ด้วย Competency. กรุงเทพมหานคร : ศิริวัฒนา อินเตอร์พรินท์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการขับเคลื่อนกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. (2556). โรงเรียนมาตรฐานสากลในจังหวัดปทุมธานี. สืบค้นวันที่ 5 ตุลาคม 2556. จาก : http://www.ssps4.go.th/ssps4/.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2552. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สำนักนายกรัฐมนตรี. (24 สิงหาคม 2550). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550. ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 124 ตอนที่ 47 ก.

อภินันท์ เวทยานุกูล. (2544). รายงานการวิจัยความสามารถในตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

Aitken, J. E. and The Education Review Office. (2005). Core Competencies for School Principle. Retrieved August 24, 2007, from http://www.ero.govt.nz/
Publications.

Krejcie, R. V. and Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Education and Psychological Measurement.

Sergiovani, T. J. and other. (1999). Education Governance and Administration. (4th ed). Boston : Allyn and Bacon.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-12-28