Glass fiber reinforced material’s structure and its properties

Main Article Content

กิตติ ศรีนุชศาสตร์

Abstract

วัสดุเสริมแรงเส้นใยแก้ว ได้รับความนิยมในการนำมาสร้างเป็นอากาศยานไร้นักบินขนาดเล็กเนื่องจาก มีน้ำหนักเบาและมีความแข็งแรงมาก ซึ่งในขั้นตอนของการออกแบบโครงสร้างนั้นจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลสมบัติของวัสดุ เพื่อคำนวณหารูปแบบโครงสร้างที่เหมาะสม งานวิจัยนี้ศึกษาสมบัติทางกลของวัสดุเสริมแรงเส้นใยแก้ว ชนิดทอเป็นผืนขนาด 200 กรัมต่อตารางเมตรกับเรซินอีพอกซี ( L20+VE3261) ด้วยกระบวนการขึ้นรูปด้วยมือ ที่วางซ้อนกันจำนวน 8 ชั้น โดยการทดสอบหาค่าความแข็งแรงของวัสดุตามมาตราฐาน ASTM D3039 และกำหนดรูปแบบการวางมุมของใยแก้วทอผืนที่แตกต่างกัน 11 แบบ จากการศึกษาพบว่าวัสดุเสริมแรงเส้นใยแก้วนี้มีค่าความแข็งแรงดึงสูงสุดที่ 327.26 เมกะพาสคาล และค่ามอดูลัสสูงสุดที่ 15.8 จิกะพาสคาล ในการวางมุมแบบ  gif.latex?[0]_{2}

Article Details

How to Cite
ศรีนุชศาสตร์ ก. (2018). Glass fiber reinforced material’s structure and its properties. NKRAFA JOURNAL OF SCIENCE AND TECHNOLOGY, 14, 20–24. Retrieved from https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/nkrafa-sct/article/view/159268
Section
Research Articles

References

[1] Isaac, M., Danial, & Ori Ishai. (1994). Engineering Mechanics of Composite Materials. 3rd edition. Kidlington, Oxford : Elsevier science Ltd.

[2] Vernice, A., Mayer. (2008). ASTM International Standard World Wide. “2008 Annual Book of ASTM Standards”. Baltimore, MD, USA.

[3] Vernice, A., Mayer. (2010). ASTM International Standard World Wide. “2010 Annual Book of ASTM Standards”. Baltimore, MD, USA.