การขับเคลื่อนรถไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ร่วมพลังงานแสงอาทิตย์: การทดลองขับรถทางชันและการบรรทุกน้ำหนัก

ผู้แต่ง

  • มนตรี วงค์ศิริวิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • วัชรากร ใจตรง มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • อเหนก ดัสกรณ์ วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์

คำสำคัญ:

มอเตอร์ไฟฟ้า, ไฟฟ้ากระแสตรง, แบตเตอรี่

บทคัดย่อ

     วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อทดสอบการทำงานของมอเตอร์รถไฟฟ้าที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานจากแบตเตอรี่ร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์ที่สภาวะความชันและภาระโหลดต่างกัน โดยการทดลองขับรถบรรทุก 3 ล้อขึ้นทางชันของถนนที่ 6 และ 9 องศา และการทดลองบรรทุกน้ำหนักที่ 100 และ 200 กิโลกรัม และพบว่ารถบรรทุก 3 ล้อ ขนาด 3 ที่นั่ง ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์ ด้วยการใช้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีกำลังไฟฟ้าขนาด 48 โวลต์ 750 วัตต์ และความเร็วรอบ  2900 รอบต่อนาที และเก็บไฟฟ้าโดยแบตเตอรี่ 12 โวลต์ 45 แอมแปร์ชั่วโมง จำนวน 4 ลูก ต่อแบบอนุกรมสามารถทำการขับเคลื่อนรถบรรทุก 3 ล้อที่ขับเคลื่อนโดยใช้กำลังไฟฟ้าสุงถึง 80 วัตต์ กระแส 23 แอมป์ และแรงดันสูง 3.23 โวลต์ ที่การบรรทุก 200 กิโลกรัมที่ความชันถนน 9 องศาได้

References

Dassakorn, A., Jaitong, W., Boonthum, E., & Wongsiriwittaya, M. (2020). A Study of the Mini Truck Driver by Electric Motor and Solar Cell. Industrial Technology and Engineering Pibulsongkram Rajabhat University Journal, 2(2), 29-37.

Diouf, B., & Avis, C. (2019). The potential of Li-ion batteries in ECOWAS solar home systems. Journal of Energy Storage, 22, 295-301. doi: https://doi.org/10.1016/j.est.2019.02.021

Liu, X., Feng, X., & He, Y. (2019). Rapid discrimination of the categories of the biomass pellets using laser-induced breakdown spectroscopy. Renewable Energy, 143, 176-182. doi: https://doi.org/10.1016/j.renene.2019.04.137

Mondal, S., Sanyal, A., Brahmachari, S., Bhattacharjee, B., Mujumdar, P.D., Raviteja, J., & Nag, D. (2017). Utilization of Constrained Urban Spaces for Distributed Energy Generation – Development of Solar Paved Pedestrian Walkway. Energy Procedia, 130, 114-121. doi: https://doi.org/10.1016/j.egypro.2017.09.406

Rajabi H.S., Colantoni, A., Gallucci, F., Salerno, M., Silvestri, C., & Villarini, M. (2019). Comparative energy and environmental analysis of agro-pellet production from orchard woody biomass. Biomass and Bioenergy, 129, 105334. doi: https://doi.org/10.1016/j.biombioe.2019.105334

Rizzo, G. (2010). Automotive Applications of Solar Energy. IFAC Proceedings Volumes, 43(7), 174-185. doi: https://doi.org/10.3182/20100712-3-DE-2013.00199

Secinaro, S., Brescia, V., Calandra, D., & Biancone, P. (2020). Employing bibliometric analysis to identify suitable business models for electric cars. Journal of Cleaner Production, 264, 121503. doi: https://doi.org/10.1016/j.jclepro.2020.121503

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-10-12

How to Cite

[1]
วงค์ศิริวิทยา ม. ., ใจตรง ว. ., และ ดัสกรณ์ อ. ., “การขับเคลื่อนรถไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ร่วมพลังงานแสงอาทิตย์: การทดลองขับรถทางชันและการบรรทุกน้ำหนัก ”, PSRU JITE, ปี 3, ฉบับที่ 2, น. 156–163, ต.ค. 2021.