การพัฒนาระบบควบคุมเครื่องกัดซีเอ็นซีขนาดเล็ก โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

ผู้แต่ง

  • สมมาตร พรหมพุฒ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ
  • นพรุจ เขียวนาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ

คำสำคัญ:

ซีเอ็นซี, ระบบควบคุม, เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง, เอ็มคิวทีที

บทคัดย่อ

งานวิจัยฉบับนี้ได้นำเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งเข้ามามีส่วนช่วยในการพัฒนาเครื่องจักรกลอัตโนมัติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบควบคุมเครื่องกัดซีเอ็นซีขนาดเล็ก ความแม่นยำสูง เหมาะสำหรับชิ้นงานไม้ แผ่นอะคริลิค และง่ายต่อการใช้งาน เมื่อเทียบเท่ากับเครื่องขนาดใหญ่ ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินงานโดยใช้แบบจำลอง ADDIE คือ การวิเคราะห์ การออกแบบ การพัฒนา การนำไปใช้ และการประเมินผลลัพธ์ของเครื่องกัดซีเอ็นซีขนาดเล็ก ที่สามารถควบคุมการทำงานของเครื่องกัดซีเอ็นซีผ่านเว็บเบราว์เซอร์ที่พัฒนาด้วยซอฟต์แวร์ Node-RED ส่งผ่านด้วยโปรโตคอล MQTT ซึ่งเป็นโปรโตคอลมาตรฐานหลักของ ISO/IEC 20922:2016 โดยผลการทดสอบพบว่าสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องกัดซีเอ็นซีขนาดเล็กได้ถูกต้อง มีค่าความผันแปรในแนวแกน X แกน มีค่าเท่ากับ 1.00 แนวแกน Y แกน มีค่าเท่ากับ 1.00 แนวแกน Z แกน มีค่าเท่ากับ 0.99 และช่วยลดปัญหาในการติดตั้งชุดโปรแกรมควบคุมบนระบบปฏิบัติการได้

References

รวิ อุตตมธนินทร์. (2541). การสร้างต้นแบบส่วนควบคุมเครื่องกัดแนวดิ่งซีเอ็นซี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพ.

Aghenta, L.O., & Iqbal, T. (2019). Design and implementation of a low-cost, open source IoT-based SCADA system using ESP32 with OLED, ThingsBoard and MQTT protocol. AIMS Electronics and Electrical Engineering, 4(1), 57-86.

Doi: 10.3934/ElectrEng.2020.1.57

Baig, M.J.A., Iqbal, M.T., Jamil, M., & Khan, J. (2021). Design and implementation of an open-Source IoT and blockchain-based peer-to-peer energy trading platform using ESP32-S2, Node-Red and, MQTT protocol. Energy reports, 7, 5733-5746.

Kodali, R.K., & Anjum, A. (2018). IoT based home automation using node-red. In 2018 Second International Conference on Green Computing and Internet of Things (ICGCIoT), Bangalore, India. Doi: 10.1109/ICGCIoT.2018.8753085

Kodali, R. K., & Soratkal, S. (2016). MQTT based home automation system using ESP8266. In 2016 IEEE Region 10 Humanitarian Technology Conference (R10-HTC), pp.1-5. Doi: 10.1109/R10-HTC.2016.7906845

Patel, P.N.P., Pavagadhi, S.D., & Acharya, S.G. (2019). Design and development of portable 3-Axis CNC router machine. International Research Journal of Engineering and Technology (IRJET), 6(3), 1452-1455.

Prianto, E., Maryadi, T.H.T., Sunomo, Malik, C. A. J., Purnomo, M. W., & Caecaria, O. M. (2019). Mini CNC Design to Increase Students’ Programming and Control CNC Competencies. Journal of Physics: Conference Series, 1413.

Doi: 10.1088/1742-6596/1413/1/012006

Qureshi, M., Tungekar, M., & Hirani, A. (2019). Design of Mini CNC using Arduino uno. Retrieved from http://ir.aiktclibrary.org:8080/xmlui/handle/123456789/3067

Rajalakshmi, A., & Shahnasser, H. (2017). Internet of Things using Node-Red and alexa. In 2017 17th International Symposium on Communications and Information Technologies (ISCIT), QLD, Australia. Doi: 10.1109/ISCIT.2017.8261194

Shashidhar, P.N., Yogesh, B.K., Kumar, H., & Somesh G.H. (2020). Design and Development of Mini CNC Machine for Small and Medium Scale Industries. International Journal of Scientific & Engineering Research, 11(6), 505-510.

Swamy, S.N., & Kota, S.R. (2020). An empirical study on system level aspects of Internet of Things (IoT). IEEE Access, 8, 188082-188134.

Yousif, A.A., Ibrahim, M.A.T.B.I., Omer, M.O.S. & Mohamed, M.M.A. (2021). Design and Implementation of CNC Writing Machine Based on Arduino Micro-controller. Journal of Karary University for Engineering and Science. Doi: https://doi.org/10.54388/jkues.v1i2.53

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-21

How to Cite

[1]
พรหมพุฒ ส. และ เขียวนาค น., “การพัฒนาระบบควบคุมเครื่องกัดซีเอ็นซีขนาดเล็ก โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง”, PSRU JITE, ปี 4, ฉบับที่ 1, น. 1–14, เม.ย. 2022.