การพัฒนาระบบแชทบอทเพื่อการประชาสัมพันธ์หลักสูตรแบบอัตโนมัติ กรณีศึกษา โปรแกรมวิชาวิทยาการสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ผู้แต่ง

  • วีรอร อุดมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • เจนนิสา ยศอินทร์

คำสำคัญ:

ระบบแนะนำหลักสูตร, ระบบประชาสัมพันธ์ออนไลน์, แชทบอท

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาระบบแชทบอทเพื่อการประชาสัมพันธ์หลักสูตรแบบอัตโนมัติ กรณีศึกษาโปรแกรมวิทยาการสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2) เพื่อประเมินความพึ่งพอใจของผู้ใช้งานระบบแชทบอทที่ได้รับการพัฒนาขึ้นในการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลหลักสูตร โดยกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่อาจารย์ระดับโปรแกรมวิชาวิทยาการสารสนเทศปริญญาตรี 3 คน และอาจารย์ระดับโปรแกรมวิชาวิทยาการสารสนเทศปริญญาโท 1 คน และนักเรียนและนักศึกษา 16 คน และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ระบบแชทบอทเพื่อการประชาสัมพันธ์หลักสูตรแบบอัตโนมัติ กรณีศึกษา โปรแกรมวิชาวิทยาการสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2) แบบประเมินความความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบแชทบอทที่ได้รับการพัฒนาขึ้นในการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลหลักสูตร สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาระบบแชทบอทเพื่อการประชาสัมพันธ์หลักสูตรแบบอัตโนมัติ กรณีศึกษา โปรแกรมวิชาวิทยาการสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผู้ใช้งานมีความพึ่งพอใจโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก

References

มุกดา บุญสอน. การศึกษาการจัดวิชาชีพชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนประถมศึกษาตามโครงการขยายโอกาส ทางการศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี. (2557). มหาวิทยาลัยรังสิต. RSU Connect แชท บอทบนแอปพลิเคชัน LINE. สืบค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2563 (https:// campus.campus-star.com)

โปรแกรมวิชาวิทยาการสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2563, จาก http://informatics.nrru.ac.th/2017/

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/publications/Thailand-Internet-User-Behavior-2020.aspx

อุษณีย์ ภักดี ตระกูลวงศ, นฤพล สุวรรณวิจิตร, ณัฐชัย สุบรรณเกตุ, ศุภาดา ทองไทย และสิรินทร์ รัตน์ ปานประดิษฐ. (2563). การพัฒนาระบบแชทบอทเพื่อบริการสารสนเทศงานแนะแนวการศึกษาตอสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสาขาวิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. งานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. (9 - 10 กรกฎาคม 2563) , น. 527-534.

สุมนา บุษบก, ณัฐพร เพ็ชรพงษ์ และ จีรนุช สิงโตแก้ว. (2563). การพัฒนาแอปพลิเคชัน Chatbot สําหรับงานบริการนักศึกษากรณีศึกษากองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 19(2), น.85-94

พิชญะ พรมลา และ สรเดช ครุฑจ้อน. (2563). ผลการใช้แชทบอทช่วยในการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานสำหรับผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพในสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 19(2), น.100-109.

Chun Ho Chan, Ho Lam Lee, Wing Kwan Lo, Andrew Kwok-Fai Lui (2018). Developing a Chatbot for College Student Programmed Advisement. School of Science and Technology the Open University of Hong Kong Hong Kong, Conference Proceedings: 2018 International Symposium on Educational Technology (ISET). 31 July-2 Aug, 2018. pp.52-56

kankann. (2563). หลักการทำงานแชทบอท, สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2563, จาก ttps://expertsystem.com/wpcontent/uploads/2019/06/ChatbotPost_Picture1.png

Miri Heo and Kyoung Jun Lee. (2018). Chatbot as a new business communication tool: The case of naver TalkTalk. Business Communication Research and Practice, 1(1), pp.41-45

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-05-19