สมาชิกของริงที่สอดคล้องกับการหารลงตัวบางรูปแบบ
คำสำคัญ:
ริงสลับที่ที่มีเอกลักษณ์, การหารลงตัว, การหารยาวบทคัดย่อ
กำหนดให้ R เป็นริงสลับที่ที่มีเอกลักษณ์ 1 และ m≥n เรานิยาม d∈R ที่สอดคล้องเงื่อนไขสองข้อต่อไปนี้
(bx^n-b) | (ax^m+d) ถ้า b | a และ
(bx^n-1) | (ax^m+d) ถ้า b^k | a
โดยที่ k คือผลหารจากการหาร m ด้วย n และ a, b∈R
References
Burton D. M., (2011). Elementary Number Theory. New York: The McGraw-Hill Companies, Inc.
Durbin J. R. (2009). Modern Algebra: An Introduction (6th ed). New York: The University of Texas at Austin. John Wiley & Sons, Inc.
Lovett S. (2015). Abstract Algebra: Structures and Applications. New York: Chapman and Hall/CRC.
Malik D. S., Mordeson John M. and Sen M. K. (1997). Fundamentals of abstract algebra. New York: The McGraw-Hill Companies, Inc.
Niven I., Zuckerman H. S. and Montgomery H. L. (1991). An Introduction to the Theory of Numbers. New York: John Wiley & Sons, Inc.
Stitz C. and Zeager J. (2013). College Algebra. Retrieved Oct 10, 2022, from https://www.stitz-zeager.com/szca07042013.pdf.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ก่อนเท่านั้น