จริยธรรมการตีพิพม์
หน้าที่ของบรรณาธิการ | ||||||||||
1. ดำเนินการให้ตรงตามความประสงค์ของผู้อ่านและผู้นิพนธ์ | ||||||||||
2. ปรับปรุงวารสารอย่างสม่ำเสมอ | ||||||||||
3. รับรองคุณภาพของงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ | ||||||||||
4. สนับสนุนเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น | ||||||||||
5. คงไว้ซึ่งความถูกต้องของบทความทั้งหมด | ||||||||||
6. ทำการชี้แจงการแก้ไขให้เกิดความกระจ่าง การถอน และการขออภัย หากจำเป็น | ||||||||||
หน้าที่ของผู้ประเมินบทความ | ||||||||||
1. ผู้ประเมินไม่ควรมีผลประโยชน์หรือขัดแย้งกับผู้แต่งหรือสถาบันที่เกี่ยวข้องกับบทความ | ||||||||||
2. ผู้ประเมินมีความคิดเห็นที่เป็นกลางต่อบทความ | ||||||||||
3. รักษาความลับของข้อมูลและเอกสารทั้งหมด | ||||||||||
4. ให้ข้อเสนอแนะแก่บรรณาธิการตรงตามระยะเวลาที่กำหนด | ||||||||||
5. ไม่ใช้ข้อมูลที่เปิดเผยผ่านกระบวนการประเมินเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง | ||||||||||
6. ช่วยเหลือทีมบรรณาธิการในการตัดสินใจว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบทความที่ส่งมาและแนะนำผู้เขียนในการปรับปรุงบทความ | ||||||||||
หน้าที่ของผู้นิพนธ์บทความ | ||||||||||
1. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมีรายละเอียดที่เพียงพอและการอ้างอิงที่ถูกต้อง | ||||||||||
2. ห้ามส่งต้นฉบับที่มีการปลอมแปลงข้อมูลการลอกเลียนแบบหรือการส่งซ้ำ | ||||||||||
3. บทความต้องไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ | ||||||||||
4. มีการแสดงข้อมูลของทุนวิจัยหรือหน่วยงานทุนวิจัยในบทความ (หากมี) | ||||||||||
5. ผู้เขียนจะต้องยอมรับผลการตัดสินใจจากบรรณาธิการวารสาร | ||||||||||
6. ผู้เขียนจะต้องจัดทำต้นฉบับอย่างถูกต้องและครบถ้วนตามคำแนะนำในวารสาร |