ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการไม่พึงประสงค์จากการรับสัมผัสความร้อน ของพนักงานอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์แห่งหนึ่ง
คำสำคัญ:
อาการไม่พึงประสงค์, การรับสัมผัสความร้อน, พนักงาน, อุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่ออาการไม่พึงประสงค์จากความร้อนของพนักงานที่รับสัมผัสความร้อนโรงงานผลิตยางรถยนต์แห่ง จำนวน 146 คนดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลของอาสาสมัครโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการไม่พึงประสงค์จากความร้อนโดยใช้การทดสอบไคสแควร์
ผลการศึกษา พบว่า พนักงานอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 79.45 อายุเฉลี่ย 34.36 ปี มีประสบการณ์ทำงานเฉลี่ย 5.01 ปี ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 57.31 ความรู้เรื่องความปลอดภัยในการทำงานระดับน้อย ร้อยละ 54.11 ผลการศึกษาความสัมพันธ์ พบว่า เพศ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ประสบการณ์ทำงาน และความรู้เรื่องความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับความร้อนมีความสัมพันธ์กับอาการไม่พึงประสงค์จากความร้อนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ดังนั้น สถานประกอบกิจการควรมีการอบรมให้ความรู้กับพนักงานในเรื่องของการทำงานกับความร้อนและการป้องกันตนเองจากการรับสัมผัสความร้อน การกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับห้ามดื่มแอลกอฮอล์ในขณะปฏิบัติงาน และควรมีการกำกับให้พนักงานปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด ตลอดจนการจัดให้มีระยะเวลาพักในระหว่างการปฏิบัติงาน
References
Best, J.W. (1981). Research in Education. New Jersey : Prentice - Hall.
Bloom, B. S. (1971). Hand book on formative and summative evaluation of student learning. New York: Mc Graw-Hill Book Company.
Department of health. (2023). Report on the situation and operating results surveillance and communication of health warnings from heat. https://hia.anamai.moph.go.th /web-upload/12xb1c83353535e43f224a05e184d8fd75a/202402/m_magazine/356 44/4745/file_download/c4239838ba7712df487d2b896652145f.pdf
Hanthongchai, K., Pakkarato, K., Nareen, P., & Kanjanasorn. (2022). Hot weather with athletics training and competition. NEU Academic and Research Journal, 12(3), 55-69. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/neuarj/article/view/256208/176706
Ministry of Labour. (2016). Ministerial Regulation on the Prescribing of Standard for Administration and Management of Occupational Safety, Health and Environment in Relation to Heat, Light and Noise B.E. 2559. https://osh12.labour.go.th/attach ments/article/9/enveronment2547.pdf
Ministry of Labour. (2022). Announcement of the Department of Labor Protection and Welfare on criteria and measurement methods and analysis of operating conditions and work instructions regarding levels of heat, light, or noise, including the duration and type of manufacturing that must be carried out (edition 2). https://legal.labour.go.th/images/ law/Safety2554/3/3146.pdf
Mitsanthia, W. (2017). Factors affecting heat related illness among employees exposure to heat in metal smelting manufacturing factories in Rayong province. [Published master dissertation]. Burapha University. https://buuir.buu.ac.th/bitstream/ 1234567890/6671/1/Fulltext.pdf
Pinthong, C., Onsud, T., & Chamnanphudsa, O. (2022). Knowledge, attitude and safety behavior associated with physical symptoms of heat exposure among production employees in a metal melting factory, Chonburi Province. Journal of safety and health, 15(2), 146-159. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JSH/issue/view/17342/4757
Sakuntaw, C. (2013). Heat and work. Journal of Science and Technology, 5(5), 1-24. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/JSTNSRU/article/view/42075
Sotanasathien, S. (1990). Communication and society. Bangkok: Chulalongkorn University Print House
Thailand Motor Motive Institute. (2014). Tire manufacturing process. https://data.thai auto.or.th/component/content/article/24-technology/auto-technology/3181-2015-04-17-07-30-52.html
World Health Organization. (2023). Zero regrets: scaling up action on climate change mitigation and adaptation for health in the WHO European Region. https://iris.who.int/bitstream /handle/10665/368161/WHO-EURO-2023-3198-42956-69520-eng.pdf?sequence=3
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว