การประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์และอาการผิดปกติของระบบกระดูก และกล้ามเนื้อของพนักงานเปลโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี

ผู้แต่ง

  • สุนทรี ศรีเที่ยง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
  • ภิญญดา บุดศรี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • สุพรรษา บุญเนา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • ชัญญากานต์ โกกะพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • ศุภกิตติ์ พิสิษฐ์ไพบูลย์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

การยศาสตร์, อาการผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ;, พนักงานเปล

บทคัดย่อ

การประเมินความเสี่ยงทางด้านการยศาสตร์เป็นสิ่งสำคัญที่สามารถบ่งบอกถึงระดับความเสี่ยงที่เป็นสาเหตุของการเกิดอาการผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ด้วยวิธี REBA ศึกษาอาการผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อและศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในกลุ่มพนักงานเปล จำนวน 21 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงทางด้านการยศาสตร์และแบบสอบถามอาการของผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติเพียร์สันไคสแควร์ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%  ผลการวิจัย พบว่า พนักงานเปลเป็นเพศชายร้อยละ 100 อายุเฉลี่ย 35 ปี มีความเสี่ยงทางด้านการยศาสตร์อยู่ในระดับสูง อัตราความชุกของอาการผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในช่วง  12 เดือนและ 7 วัน ที่ผ่านมา ร้อยละ 85.71 และ 76.19 ตามลำดับ และพบว่า อายุ การเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานและระยะเวลาทำงานมีความสัมพันธ์กับอาการผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้ออย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p-value < 0.05) ซึ่งผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าพนักงานเปลควรปรับเปลี่ยนลักษณะท่าทางในการทำงานเพื่อลดความเสี่ยงทางด้านการยศาสตร์และควรส่งเสริมพฤติกรรมการออกกำลังกายเพื่อลดการเกิดอาการผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในพนักงานเปล

References

Abu-Taleb, W., & Youssef, A. R. (2021). Work-related musculoskeletal disorders among Egyptian physical therapists. Bulletin of Faculty of Physical Therapy, 26(1). https://doi.org/10.1186/s43161-021-00025-z

Chanchai, W., Songkham, W., Ketsomporn, P., Sappakitchanchai, P., & Sirinong, W. (2015). Prevalence and factors associated with musculoskeletal disorders among Thai hospital orderlies. International Journal of Occupational Hygiene, 7(3), 132-138. https://ijoh.tums.ac.ir/index.php/ijoh/article/view/138

Chen, C., Lu, S., Yang, S., Liang, F., Wang, J., Ho, C., & Hsiao, P. (2022). Work-related musculoskeletal disorders among physical therapists in Taiwan. Medicine, 101(7), e28885. https://doi.org/10.1097/md.0000000000028885

Cieza, A., Causey, K., Kamenov, K., Hanson, S. W., Chatterji, S., & Vos, T. (2021). Global estimates of the need for rehabilitation based on the Global Burden of Disease study 2019: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2019. The Lancet, 396(10267), 2006–2017. https://doi.org/10.1016/s0140-6736(20)32340-0

Collins, J. D., & O’Sullivan, L. W. (2015). Musculoskeletal disorder prevalence and psychosocial risk exposures by age and gender in a cohort of office based employees in two academic institutions. International Journal of Industrial Ergonomics, 46, 85–97. https://doi.org/10.1016/j.ergon.2014.12.013

Hwang, Y., Jeon, W. S., Park, C., & Youn, B. (2016). The ratio of skeletal muscle mass to visceral fat area is a main determinant linking circulating irisin to metabolic phenotype. Cardiovascular Diabetology, 15(1), 1-6. https://doi.org/10.1186/s12933-015-0319-8

Kanjana, P., Parvena, M., & Tanongsak, Y. (2017). The Ergonomic Risk Assessment of Lateral Patient Transferring Task among Nurse Assistants in a Hospital of Chonburi Province. Conference: 12th National Conference "Health and Wellness" At: Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.

https://www.researchgate.net/publication/314944569

Kriangkrai, B. & Chutarat, C. (2019). Work related musculoskeletal disorders among hospital porters, Nakornping Hospital, Chiang Mai Province. Lanna Public Health Journal, 15(1), 35-46. https://he02.tci-thaijo.org/index.

Kuorinka, I., Jönsson, B., Kilbom, Å., Vinterberg, H., Biering‐Sørensen, F., Andersson, G., & Jørgensen, K. M. (1987). Standardised Nordic questionnaires for the analysis of musculoskeletal symptoms. Applied Ergonomics, 18(3), 233–237. https://doi.org/10.1016/0003-6870(87)90010-x

Paveena, B., Juntima, N., & Thansinee, P. (2022). Factors Associated with Work-related Musculoskeletal Disorders among Registered Nurses and Nurse’s Aides at Uthaithani Hospital. Journal of Nursing and Health Care, 40(4), 1-12. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jnat-ned/article/view/260147

Rapipan T., Jidapa, R., Thanawadee, S., Thanwa, K., Parawan, W., Piyachat, B., Pattamaket, K., Pravena, M., & Pichitra, P. (2023). Factors associated with musculoskeletal disorders among the garbage collector of the district in Mueang Chonburi, Chonburi Province. Safety & Environment Review E–journal, 6(2), 36-45. https://he03.tci-thaijo.org/index.php/OHSWA/article/view/2228/1546

Siriphun, S. (2011). Health conditions of garbage collectors; The case study of municipalities in Nakhon Pathom Province. [Independent study in Master of Science]. Silpakorn University.

Suwanan, C., Patcharin, C., Sunisa, J., Soontaree, S., & Pornthip, T. (2023). Ergonomic Risk Assessment by REBA Method and Musculoskeletal Disorders among Retailers in Fresh Market of Municipality 1, Warin Chamrap Municipality, Warin Chamrap District, Ubon Ratchathan. Proceedings of Research and Innovation in a Changing World, 17(1), 247-255 https://www.ubu.ac.th/web/files_up/00008f2023083122465378.pdf

Suwinan, T., Silom, J., & Angoon, S. (2015). Hazadous Working Posture Among Non Healthcare Workers of Naradhiwasrajanakarindra Hospital and Prevalence of Work-Related Musculoskeletal Disorders (WMSD). KKU Research Journal Humanities and Social Sciences,15 (2), 80-88. https://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/10266

Ziaei, M., Choobineh, A., Abdoli-Eramaki, M., & Ghaem, H. (2018). Individual, physical, and organizational risk factors for musculoskeletal disorders among municipality solid waste collectors in Shiraz, Iran. Industrial Health, 56(4), 308–319. https://doi.org/10.2486/indhealth.2018-0011

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-26

How to Cite

ศรีเที่ยง ส. ., บุดศรี ภ. ., บุญเนา ส. ., โกกะพันธ์ ช. ., & พิสิษฐ์ไพบูลย์ ศ. . (2024). การประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์และอาการผิดปกติของระบบกระดูก และกล้ามเนื้อของพนักงานเปลโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 5(3), ุ65–77. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/ScienceRERU/article/view/256893