การพัฒนาแผนแม่บทสำหรับการบริหารจัดการขยะชุมชนกรณีศึกษา : เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
Main Article Content
Abstract
The objective of this study is to select appropriate approach of community waste management for the Burrirum Municipallity. To achieve the ultimate goal of reducing the amount of the waste from its origin and extending the life time of existing land fill, a master plan of the community waste management is developed for the Municipality in both short and long term. The disposal rate of community solid waste was investigated from 21 households within 5 communities. It was found that disposal rate is 2.99 kg/household/day or 0.75 kg/person/day. The composition at the origin are organic recycling typical and hazardous waste with 56.53, 24.16, 17.92 and 1.39 % respectively. Comparison of 9 different alternative plans was studied. The most appropriate alternative master plan for short term is Alternative 9: combination of removing old landfill to produce refuse derived fuel (RDF) and promoting participation of people government and private organization to reduce the amount of solid waste based on 3Rs (reduce reuse recycle). For long term plan, Alternative 8: combination of solid waste separation from its origin, combining old landfill, removing and old landfill to RDF and converting new solid waste to RDF is selected. After the solid wastes are separated to recycling, organic and hazardous waste, the rest of them are transfer to produce RDF or send to landfill site. The advantage of the alternative 9 is that long term burden of landfill management and further environmental problem will be minimized.
Article Details
References
[2] ธงชัย ทองทวี. สภาพปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยองค์การบริหารส่วนตำบลหนองขาม อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา. โครงงานวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. 2553.
[3] ชนิดา เพชรทองคำ, ธำรงค์ เรืองโสภณ, วรรณี เรืองโสภณ, เพ็ญพร พุ่มกุมาร, เทิดศักดิ์ สายสุทธิ์, วราธร แก้วแสง และคณะ. การบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน กรณีศึกษา: องค์การบริหารส่วนตำบลไร่ส้ม จังหวัดเพชรบุรี. โครงการพัฒนาและส่งเสริมเครือข่ายนักวิจัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. 2553.
[4] สุรพงษ์ เล็กสมบูรณ์. กลยุทธ์การจัดการขยะชุมชนแบบประชาชนมีส่วนร่วมของเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2557; 7(1): 125–146.
[5] วัสสา คงนคร, จรีรัตน์ สกุลรัตน์, อภิวัฒน์ อายุสุข, มุกดา ศรีสวัสดิ์. แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรและการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองท่าข้าม จังหวัดสุราษฎร์ธานี. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2553.
[6] ปฐมา ไวยวุฒินันท์, ประจักร บัวผัน. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยในเขตเทศบาลตำบลอิสาณ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. KKU Res. J. 2554; 16(5): 575–586.
[7] Burirum World. จังหวัดบุรีรัมย์ เดินหน้าหนุนเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ตามแผนปฏิบัติการ ประเทศไทยไร้ขยะตามแนวทางประชารัฐ. เข้าถึงได้จาก: https://www.buriramworld.com/จังหวัดบุรีรัมย์-เดินหน/ [เข้าถึงเมื่อ 13 ธันวาคม 2559].
[8] พิรียุตม์ วรรณพฤกษ์. การปรับปรุงนโยบายการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2554.
[9] เทศบาลเมืองบุรีรัมย์. สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน แผนพัฒนาเทศบาล 3 ปี (2558–2560). สำนักงานเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. 2558.
[10] กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดบุรีรัมย์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2558–2562). สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบุรีรัมย์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2557.
[11] อาณัติ ต๊ะปินตา. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย. กรุงเทพมหานคร: บริษัท แอคทิฟพริ้น จำกัด; 2553.
[12] สัญชัย ชนะสงคราม. เทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel, RDF). เข้าถึงได้จาก: https:// www.reo13.go.th/ KM_reo13/ data_know/ 53-09-15_RDF.pdf [เข้าถึงเมื่อ 2553].