การลดความสูญเปล่าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตไม้กวาดทางมะพร้าว กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนบ้านบุ่งหวาย จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

คลอเคลีย วจนะวิชากร

Abstract

This research is to reduce waste production in the broom making process in order to increase the efficiency of the production process: a case study of community enterprise BUNG WAI, in Ubon Ratchathani. Starting from the flow process chart, the time spent in each step and the distance used to move the production has a total of 29 steps which brought to the Why-Why chart showing the relationship between all possible problems and causes, including 7 wastes. We found that there were too many problems from the work process complicated work methods and there is a risk of accidents from work methods designers study the jig / fixture to be used in the work after improvement. By designing the clamping tool for use in separating the size of the coconut maw to be 40 and 50 cm in length respectively. The device helps to reduce waste in the work process too much. The gripping device design helps employees work faster, less time-consuming while getting more work. The results from the clamping device also reduce the activity of cutting the broom from the production process. In addition, the jigs designed to be used in sawing activities was used to prevent accidents from saw blades. The results showed that in the process of cutting the wire able to reduce staff from 2 people to 1 person, reduce waste from wire scraps and cycle time reduced from 46 minutes / shaft to 40 minutes / shaft, representing 13.04%.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

[1] สมเกียรติ นินถึก, ระบบการผลิตแบบโตโยตา (ความสูญเปลา 7 ประการ), พิมพครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สมาคม
สงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน), 2559.
[2] วิจิตร ตัณฑสุทธิ์, วันชัย ริจิรวนิช, จรูญ มหิทธาฟอง
กุล, และชูเวช ชาญสงาเวช, การศึกษาการทํางาน, พิมพ
ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2539.
[3] วชิระ มีทอง, การออกแบบจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ (ฉบับปรับปรุง), กรุงเทพฯ: สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน), 2559.
[4] ฮิโตชิ โอกุระวิเชียร เบญจวัฒนาผล และสมชัย อัครทิวา, Why-Why Analysis เทคนิคการวิเคราะห์อย่างแก่นถึงเพื่อปรับปรุงสถานประกอบการ, กรุงเทพฯ: สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน), 2545.
[5] คลอเคลีย วจนะวิชากร, ปานจิต ศรีสวัสดิ์, และวรัญญู ทิพย์โพธิ์. 2559. การปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตเพื่อลดความสูญเปล่าและเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา กรณีศึกษา ชุมชนเครื่องปั้นดินเผาปากห้วยวังนอง อุบลราชธานี. วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. 9(2).38-46.
[6] คลอเคลีย วจนะวิชากร, เชษฐ์ ศรีไมตรี, และปานจิต ศรีสวัสดิ์. 2559.แนวทางการแก้ปัญหาการผลิตหวดนึ่งข้าวเหนียวอัตโนมัติ กลุ่มจักสานชุมชนบ้านหนองขอน อุบลราชธานี.วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ.9(1).48-60.
[7] สัญลักษณ์ บุญอินทร์, ศีขรินทร์ สุขโต, 2561. การเพิ่มผลิตภาพแรงงานในกิจกรรมคลังสินค้าโดยเทคนิค ECRS และการจัดสมดุลงาน. การประชุมข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2561, อุบลราชธานี, ประเทศไทย, 23-26 กรกฎาคม: 58-63.
[8] สุภาภรณ์ สุวรรณรังสี และเดชา พวงดาวเรือง .2555. การลดความสูญเปล่าของกระบวนการผลิตข้าวกล้องงอก กรณีศึกษา กลุ่มเกษตรกรบ้านจำปา จังหวัดสกลนคร. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2555, เพชรบุรี, ประเทศไทย, 17-19 ตุลาคม: 253-260.
[9] ธารชุดา พันธ์นิกุล, ดวงพร สังฆะมณี, และปรีดาภรณ์ งามสง่า. 2557 การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตด้วยเครื่องมือทางวิศวกรรมอุตสาหการ กรณีศึกษา: โรงงานประกอบรถจักรยาน. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2557, สมุทรปราการ, ประเทศไทย, 30-31 ตุลาคม,
[10] จรวยพร แสนทวีสุข, ธน ทองกลม, วิภาดา ศรีหมื่น, และภัทรา สุขประเสริฐ. 2559. การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมอุตสาหการในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต กรณีศึกษา กลุ่มผลิตไม้ตีพริก ชุมชนบ้านคำเจริญสุข. งานประชุมวิชาการระดับชาติ ม.อบ.วิจัย ครั้งที่ 10, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 7 – 8 กรกฎาคม: 59-72.