การเลือกที่ตั้งนิคมอุตสาหกรรมเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนไทยด้วยเทคนิคการวิเคราะห์แบบล้อมกรอบข้อมูล
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความฉบับนี้เป็นการศึกษาประสิทธิภาพของทำเลที่ตั้งของพื้นที่สำหรับพิจารณาจัดตั้งเขตนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทยโดยมุ่งเน้นกลุ่มจังหวัดในแต่ละภูมิภาคที่มีเขตติดกับชายแดนของประเทศเพื่อนบ้านตามแนวเขตเศรษฐกิจพิเศษของไทย ได้แก่จังหวัดที่มีเขตติดกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวจำนวน 10 จังหวัด จังหวัดที่มีเขตติดกับประเทศกัมพูชาจำนวน 6 จังหวัด จังหวัดที่มีเขตติดกับประเทศพม่าจำนวน 10 จังหวัดและจังหวัดที่มีเขตติดกับประเทศมาเลเซียจำนวน 4 จังหวัด โดยพิจารณาจากปัจจัยนำเข้าและปัจจัยผลผลิตที่ส่งผลต่อการจัดตั้งเขตนิคมอุตสาหกรรม เช่นปัจจัยทางด้านค่าแรง ระยะทาง ขนาดพื้นที่ ราคาประเมินสิ่งก่อสร้าง จำนวนแรงงาน การเกิดภัยพิบัติ ผลิตภัณฑ์โดยรวมของจังหวัดและมูลค่าการค้าบริเวณชายแดน เป็นต้น ซึ่งผลจากใช้เทคนิคการวิเคราะห์แบบล้อมกรอบข้อมูลวิเคราะห์ประสิทธิภาพ พบว่าจังหวัดที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดเหมาะในการพิจารณาจัดตั้งเขตนิคมอุตสาหกรรมที่มีเขตติดกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวคือ หนองคายและพิษณุโลก ประเทศกัมพูชาคือจังหวัดสระแก้วและจันทบุรี ประเทศพม่าคือจังหวัดตากและราชบุรี และประเทศมาเลเซียคือจังหวัดสงขลาและสตูลตามลำดับ
Article Details
References
กรมโรงงานอุตสาหกรรม. สถิติอุตสาหกรรม ปี 2560. เข้าถึงได้จาก: http://www.diw.go.th /hawk/ content.php? mode=spss60. [เข้าถึงเมื่อ เมษายน 2561].
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. คู่มือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ. เข้าถึงได้จาก: http://www.treasury.go.th/download/article/ article_20170802121819.pdf. [เข้าถึงเมื่อ เมษายน 2561].
จุฑามาศ อินทร์แก้ว. การวิเคราะห์ปัจจัยการเลือกทำเลที่ตั้งสาขากรณีศึกษา หจก. เอสเอส ค้าไม้ จังหวัด
สุราษฎร์ธานี [การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. [กรุงเทพมหานคร]: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย; 2556.
ศิริรัตน์ แจ้งรักษ์สกุล. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกที่ตั้งโรงงานในเขตพื้นที่อุตสาหกรรมของผู้ประกอบการ: กรณีศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทราและจังหวัดปราจีนบุรี [Location factors of manufacturers located in industrial zone Case Study: Chachoengsao and Prachinburi province] [รายงานผลวิจัย]. [กรุงเทพมหานคร]: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์; 2552.
นิรุทธิ์ วัฒนะแสง, วัฒนา จันทะโคตร, กิตติ วิเศษลา, กสิณ รังสิกรรพุม. ทิศทางงานวิจัยสำหรับการประยุกต์ ใช้เทคนิคการตัดสินใจด้วยวิธีการวิเคราะห์แบบล้อมกรอบข้อมูลในประเทศไทย. ใน: การประชุมวิชาการ IE Network 2018. อุบลราชธานี; 2561.
Blair, J. P., & Premus, R. (1987). Major factors in industrial location: A review. Economic development quarterly, 1(1), 72-85.
Karakaya, F., & Canel, C. (1998). Underlying dimensions of business location decisions. Industrial management & data systems, 98(7), 321-329.
Azadeh, A., Ghaderi, S. F., & Nasrollahi, M. R. Location optimization of wind plants in Iran by an integrated hierarchical Data Envelopment Analysis. Renewable Energy. 2011; 36(5): 1621-1631.
G. Ngowtanasuwan. Applying data envelopment data analysis to safety performance evaluation in construction projects. Research and Development. 2015; 26(2): 31-38.
กิตติ วิเศษลา, นิรุทธิ์ วัฒนะแสง, วัฒนา จันทะโคตร และกสิณ รังสิกรรพุม. การตัดสินใจเพื่อหาประสิทธิภาพของกระบวนการขึ้นรูปด้วยการพิมพ์แบบ 3 มิติด้วยเครื่อง FDM โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์แบบล้อมกรอบข้อมูล. ใน: การประชุมวิชาการ IE Network 2018. อุบลราชธานี; 2561.
จิราพร บุษภาพ, ฝนทิพย์ ครองยุติ, คมชาญ สืบอ้วน, และกสิณ รังสิกรรพุม. การวิเคราะห์การผลิตที่เหมาะสมจากการผลิตแบบดั้งเดิมและแบบพิมพ์สามมิติด้วยเครื่องมือการทำการตัดสินใจแบบหลายปัจจัย. ใน: การประชุมวิชาการ IE Network 2018. อุบลราชธานี; 2561
วัฒนา จันทะโคตร, นิรุทธิ์ วัฒนะแสง, กิตติ วิเศษลา และกสิณ รังสิกรรพุม. การประเมินประสิทธิภาพการบริหารจัดการอัคคีภัยในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียง เหนือด้วยเทคนิคการวิเคราะห์แบบล้อมกรอบข้อมูล. ปัจจัย. ใน: การประชุมวิชาการ IE Network 2018. อุบลราชธานี; 2561.
สุริยา สมนึก, ทศพล แสนสุด, เนติพงษ์ ไชยพล, กาญจนาวดี ลอยสี, และกสิณ รังสิกรรพุม. การศึกษาประสิทธิภาพการกู้ยืมเงินของธนาคารพาณิชย์ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วยวิธีการวิเคราะห์แบบล้อมกรอบข้อมูล. ใน: การประชุมวิชาการ IE Network 2018. อุบลราชธานี; 2561.
Charnes, A., Cooper, W. W., & Li, S. (1989). Using data envelopment analysis to evaluate efficiency in the economic performance of Chinese cities. Socio-Economic Planning Sciences, 23(6), 325-344.
Yang, Z., Hao, G., & Cheng, Z. (2018). Investigating operations of industrial parks in Beijing: efficiency at different stages. Economic research-Ekonomska istraživanja, 31(1), 755-777.
Ransikarbum, K., & Kim, N. Data envelopment analysis-based multi-criteria decision making for part orientation selection in fused deposition modeling. 4th International Conference on Industrial Engineering and Application (ICIEA). 2017; 81-85.
พิชามญชุ์ ธนโรจน์วานิชกุล. การวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานของสายการบิน. วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์. 2560; 35: 69-111.
ประสพชัย พสุนนท์. วิธีคัดเลือกตัวแปรสำหรับการประสิทธิภาพองค์กรด้วยวิธีการ DEA. วารสารบริหารธุรกิจ. 2551; 31: 27-37.
Firoozi, S., Sheikhdavoodi, M. J. and Farani, S. M. Optimizing Energy Consumption Efficiency for Greenhouse Cucumber Production Using the DEA (Data Envelopment Analysis) Approach in Markazi Province of Iran. Journal of Agricultural Technology. 2014; 10(3): 543-558.
วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์ และ กนกกรรณ์ ลี้โรจนาประภา. การวัดประสิทธิภาพและการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงงานอุตสาหกรรมการเตรียมเส้นใยสิ่งทอด้วยวิธีโอบล้อมข้อมูล. วารสารไทยการวิจัยดำเนินงาน. 2559; 4(1): 38-48.
Pai, J. T., Hu, D., & Liao, W. W. (2018). Research on eco-efficiency of industrial parks in Taiwan. Energy Procedia, 152, 691-697.
Sueyoshi, T. (1992). Measuring the industrial performance of Chinese cities by data envelopment analysis. Socio-Economic Planning Sciences, 26(2), 75-88.
ศูนย์ข่าวข้อมูลอาเซียน กรมประชาสัมพันธ์. รอบรู้อาเซียน. เข้าถึงได้จาก: http://www.aseanthai.net/ ewt_news.php?nid=2648&filename=index [เข้าถึงเมื่อ เมษายน 2561].
Hu, J. L., Yeh, F. Y., & Chang, I. T. (2009). Industrial park efficiency in Taiwan. Journal of Information and Optimization Sciences, 30(1), 63-86.
ไทยรัฐออนไลน์. ย้อนดูอัตราค่าจ้างขั้นต่ำเทียบชัด 5 ปี ค่าแรงขยับขึ้นเท่าไหร่. เข้าถึงได้จาก: https://www. thairath.co.th/content/11150888 [เข้าถึงเมื่อ เมษายน 2561].
Wikipedia. รายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่. เข้าถึงได้จาก: https://th. wikipedia.org/wiki/รายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่ [เข้าถึงเมื่อ เมษายน 2561].
กรมธนารักษ์. ค้นหาราคาประเมินจากเลขที่ดิน. เข้าถึงได้จาก: http://property. treasury.go.th pvmwebsite/search_data/s_constr_price.asp. [เข้าถึงเมื่อ เมษายน 2561].
Google map. ประเทศไทย. เข้าถึงได้จาก: https://www.google.co.th/maps/dir//ประเทศไทย [เข้าถึงเมื่อ เมษายน 2561].
ระบบสถิติทางการลงทะเบียน. สถิติประชากรและบ้านจำนวนประชากรแยกรายอายุ. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_ age. php [เข้าถึงเมื่อ เมษายน 2561].