แบบจำลองพลวัตระบบควบคุมความร้อนสำหรับเครื่องผลิตเชื้อเพลิงเอทานอลขนาดเล็ก
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอการหาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบควบคุมความร้อนสำหรับเครื่องผลิตเชื้อเพลิงเอทานอลขนาดเล็ก โดยในระบบของเครื่องจะมีขดลวดทำความร้อน ทำหน้าที่ให้ความร้อนแก่น้ำหมักในกระบวนการกลั่น จนกระทั่งได้เป็นเอทานอล ซึ่งเครื่องต้นแบบนี้ถูกพัฒนาขึ้นและนำมาประยุกต์ใช้ในการผลิตเอทานอล ในบทความนี้จึงนำเสนอการพิสูจน์หาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบควบคุมความร้อนโดยใช้วงจรแปลงผันกำลังไฟฟ้า AC-DC-AC ที่มีการควบคุมพีไอ กับระบบไฟฟ้าหนึ่งเฟส โดยอาศัยการพิสูจน์หาแบบจำลองด้วยวิธีค่าเฉลี่ยปริภูมิสถานะทั่วไป การยืนยันความถูกต้องของแบบจำลองจะอาศัยการจำลองสถานการณ์ผ่านบล็อก SimPowerSystemTMบนโปรแกรม MATLAB
Article Details
บท
บทความวิจัย (Research Article)
References
[1] รศ.ดร. อภิชาต บุญทาวัน (2557). การสร้างโรงงานต้นแบบขนาดเล็กเพื่อการผลิตเอทานอลสำหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงด้วยเทคนิคผสมระหว่างการแยกไอผ่านเยื่อแผ่นและการดูดซับ.งานวิจัยสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. : 24-59
[2] อาทิตย์ กองแก้ว (2559). การพัฒนาและจำลองกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงเอทานอลและการประยุกต์ใช้ในระบบเอสเทอริฟิเคชั่นของกรดซักซินิกควบคู่กับการแยกไอผ่านเยื่อแผ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. : 98-115
[3] สุชาวดี จีนสุทธิ์, กองพัน อารีรักษ์, กองพล อารีรักษ์ และอภิชาต บุญทาวัน. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบควบคุมความร้อนสำหรับเครื่องผลิตเชื้อเพลิงเอทานอลขนาดเล็ก. การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 41
[4] กองพัน อารีรักษ์ (2558). การสร้างวงจรแปลงผันชนิดบัคก์-บูสต์ที่มีตัวควบคุมแบบเหมาะที่สุด. กลุ่มวิจัยอิเล็กทรอนิกส์กำลัง พลังงาน เครื่องจักรกล และการควบคุม. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
[5] J. Mahdavi, A. Emaadi, M. D. Bellar and M. Ehsani, “Analysis of power electronic converters
using the generalized state-space averaging approach,” IEEE Transactions on Circuits and
Systems I: Fundamental Theory and Applications, vol. 44, no. 8, 1997, pp. 767-770.
[2] อาทิตย์ กองแก้ว (2559). การพัฒนาและจำลองกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงเอทานอลและการประยุกต์ใช้ในระบบเอสเทอริฟิเคชั่นของกรดซักซินิกควบคู่กับการแยกไอผ่านเยื่อแผ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. : 98-115
[3] สุชาวดี จีนสุทธิ์, กองพัน อารีรักษ์, กองพล อารีรักษ์ และอภิชาต บุญทาวัน. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบควบคุมความร้อนสำหรับเครื่องผลิตเชื้อเพลิงเอทานอลขนาดเล็ก. การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 41
[4] กองพัน อารีรักษ์ (2558). การสร้างวงจรแปลงผันชนิดบัคก์-บูสต์ที่มีตัวควบคุมแบบเหมาะที่สุด. กลุ่มวิจัยอิเล็กทรอนิกส์กำลัง พลังงาน เครื่องจักรกล และการควบคุม. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
[5] J. Mahdavi, A. Emaadi, M. D. Bellar and M. Ehsani, “Analysis of power electronic converters
using the generalized state-space averaging approach,” IEEE Transactions on Circuits and
Systems I: Fundamental Theory and Applications, vol. 44, no. 8, 1997, pp. 767-770.