การเลือกพื้นที่ก่อสร้างท่าอากาศยานแห่งใหม่ (กรณีศึกษาท่าอากาศยานพะเยา) โดยเน้นการเชื่อมโยงระบบขนส่งทางราง

Main Article Content

ชัยวัฒน์ แสงศรีจันทร์
ณพล ศรีศักดา

บทคัดย่อ

เนื่องจากการเชื่อมโยงโครงข่ายการขนส่งทางรางสามารถส่งเสริมการพัฒนาท่าอากาศยานให้มีจำนวนผู้โดยสารเข้ามาใช้บริการมากยิ่งขึ้น งานวิจัยนี้จึงศึกษาผลการคัดเลือกพื้นที่ก่อสร้างท่าอากาศยานพะเยาซึ่งเป็นกรณีศึกษาโดยเน้นการเชื่อมโยงโครงการรถไฟทางคู่สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของในพื้นที่จังหวัดพะเยาในอนาคตด้วยวิธีตัดสินใจแบบหลายปัจจัยโดยการคิดค่าน้ำหนักความสำคัญของปัจจัยโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์แบบลำดับชั้น ปัจจัยที่มีผลต่อการคัดเลือกพื้นที่ก่อสร้างท่าอากาศยานได้รวบรวมจากผลการศึกษา/วิจัยในแหล่งต่างๆ เพื่อให้งานวิจัยนี้มีปัจจัยที่สามารถครอบคลุมประเด็นต่างๆในพื้นที่ศึกษาให้ได้มากที่สุด จากผลการวิจัยพบว่า กระบวนการวิเคราะห์ลำดับชั้นมีผลทำให้ค่าน้ำหนักในแต่ละปัจจัยย่อยมีค่าที่แตกต่างจากผลการศึกษาจากแหล่งต่างๆ โดยปัจจัยย่อยในด้านระยะห่างจากสถานีขนส่งผู้โดยสารหลักมีค่าน้ำหนักสูงที่สุดในส่วนของปัจจัยด้านวิศวกรรม และการมีโครงการรถไฟทางคู่ในพื้นที่จังหวัดพะเยาสามารถส่งผลให้คะแนนการคัดเลือกพื้นที่ก่อสร้างท่าอากาศยานในปัจจัยด้านวิศวกรรมสูงขึ้นร้อยละ 9.6 เมื่อเทียบกับกรณีที่ไม่มีโครงการ เนื่องจากมีสถานีรถไฟที่อยู่ใกล้พื้นที่คัดเลือกมากขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

การรถไฟแห่งประเทศไทย. รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร ของรายงานการศึกษาความเหมาะสม เพื่อศึกษาทบทวนผลการศึกษาความเหมาะสมฯของโครงการก่อสร้างทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ. การรถไฟแห่งประเทศไทย: 2555.

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. อุตสาหกรรมเป้าหมาย-อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์. เข้าถึงได้จาก: https://eeco.or.th/th/aviation-and-logistics [4th December 2021].

กรมท่าอากาศยาน. โครงการศึกษาความเป็นได้ในการก่อสร้างท่าอากาศยานพะเยา. เข้าถึงได้จาก: https://www.airports.go.th/th/content/11401/4839.html [4th December 2021].

Paelinck J. Qualitative Multicriteria Analysis: An Application to Airport Location. Environment and Planning A. 1977;9(8): 883–895.

Sennaroglu B, Celebi GV. A Military Airport Location Selection by AHP Integrated PROMETHEE and VIKOR Methods. Transport Research Part D. 2018;59: 160–173.

Ballis A. Airport Site Selection based on Multicriteria Analysis: The Case Study of the Island of Samothraki. Operational Research. 2003;3(3): 261–279.

Batey PWJ, Madden M, Scholefield G. Socio-Economic Impact Assessment of Large-scale Projects using Input-Output Analysis: A Case Study of an Airport. Reginal Studies. 1993;27(3): 179–191.

ดุษฎี สถิรเศรษฐทวี, รังสรรค์ สุวรรณห้อย, ทรงยศ กิจธรรมเกษร, สสิกรณณ์ เหลืองวิชชเจริญ. เกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมในการก่อสร้างสถานีขนส่งสินค้าในประเทศไทย โดยใช้วิธี Analytic Hierarchy Process (AHP). วิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2561;13(2); 54-65.

กรมท่าอากาศยาน. รายงานการศึกษาความเป็นไปได้โครงการท่าอากาศยานบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ. กรมท่าอากาศยาน: 2564.

กรมการขนส่งทางบก. รายงานการศึกษาความเป็นไปได้และรูปแบบการบริหารจัดการสถานีขนส่งสินค้าภูมิภาค. กรมการขนส่งทางบก: 2559.

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. รายงานศึกษาความเหมาะสมการบริหารจัดการและกระจายสินค้าจังหวัดพิษณุโลก (Logistic Hub). สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร: 2561.

Freestone R. Planning, Sustainability and Airport-Led Urban Development. International Planning Studies. 2009;14(2): 161–176, 2009.

Yang C, Wu T, Liao Y. Evaluation for the Location Selection of Airport Based on WLSM- TOPSIS Method. Applied Mechanics and Materials. 2014: 1823–1827.

Min H, Wu X. Dynamic Expansion and Location of an Airport: A Multiple Objective Approach. Transportation Research, 1997;31(5): 403–417.

Panagopoulos IK., Karagiannis AN, Kassomenos PA., Pavlopoulos N. Selection of An Optimum Site to Construct and Develop an Airport in the North Aegean Using Multi Criteria Analysis. In: International Conference on Environmental Science and Technology, September 2003. p.8–10.

Ssamula B, 2010. Exploring Multi-Criteria Decision Analysis Method as a Tool to Choose Regional Airport Hubs within Africa. International. Journal of Sustainable Development and Planning, 2010;5(2): 83–97.

Carmona-benítez, RB, Fernandez O, Segura E. Site Selection of the New Mexico City Airport from the Perspective of Maximizing the Sum of Expected Air Pax Demand. Computational Logistics, 2013;8197: 586–601.

Erkan TE, Elsharida M. Overview of Airport Location Selection Methods. International Journal of Applied Engineering Research. 2019; 14(7): 1613-1618.

ดุษฎี สถิรเศรษฐทวี, ปรีดา พิชยาพันธ์, ชัยวัฒน์ แสงศรีจันทร์, นวพร รักหมู่. การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกรูปแบบการเดินทางเพื่อพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก โดยวิธีกระบวนการวิเคราะห์ลำดับชั้น. วิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2555;7(1); 1-7.

Wind Y, Saaty TL. Marketing Applications of the Analytic Hierarchy Process. Management Science. 1980;26(7): 641–658.

ประชาชาติธุรกิจ. การรถไฟโต้ ไม่มีฮั๊วประมูล ทางคู่สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ. เข้าถึงได้จาก: https://www.prachachat.net/property/news-675839 [9th December 2021].

Milena Z, Dainora G, Alin S. Qualitative Research Methods: a Comparison Between Focus-Group and In-Depth Interview. Annals of Faculty of Economics, University of Oradea, Faculty of Economics. 2008;4(1): 1279–1283.

Saaty TL. The Analytic Hierarchy Process. New York: McGraw-Hill; 1980.

Cahyapratama A, Sarno R. Application of Analytic Hierarchy Process (AHP) and Simple Additive Weighting (SAW) Methods in Single Selection Process. In: 2018 International Conference on Information and Communications Technology (ICOIACT). 2018. p. 234–239.

Aldian A. Analysis of Travel Demand in Developing Countries: A Fuzzy Multiple Attribute Decision-Making. In: 26th Australian Transport Research Forum. 2003. p. 1–16.